พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล 3-6 ปี รวมเคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการ พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล ทำให้ลูกได้เรียนรู้การช่วยเหลือตนเอง การอยู่ร่วมกับเพื่อน พัฒนาการเด็กวัย 3-6 ปี
ทำอย่างไรดี ลูกชอบทำร้ายสัตว์ (โดยไม่ตั้งใจ)
เด็กวัยอนุบาลชอบบี้แมลงอาจดูไม่น่ารักเท่าไร แต่คุณแม่ก็อย่าได้หวั่นวิตกไปเลยค่ะเพราะที่เขาทำไปนั้น เขายังไม่รู้ด้วยซ้ำว่าตัวเองทำให้แมลงตัวน้อยต้องตาย
วัดแววฉลาด ลูกเก่งด้าน “ภาษา” หรือเปล่า
ในยุคนี้คนที่รู้หลายภาษาจะได้เปรียบกว่าคนอื่นๆ ลูกเรามีแววเก่งด้านภาษาไหม และจะส่งเสริมอย่างไร หาคำตอบได้ที่นี่!
แย่จัง ลูกสาวชอบเล่นแต่กับเพื่อนผู้ชาย
แทนที่จะรวมกลุ่มกับเด็กผู้หญิงด้วยกัน ลูกสาวของคุณกลับกลายเป็นจอมทโมนในกลุ่มเด็กผู้ชาย…คุณแม่ทำอย่างไรดีล่ะ
ลูกมีแววเป็นนักธรรมชาติวิทยา (Naturalist) รึเปล่านะ?
นักธรรมชาติวิทยา คือ บุคคลที่เชี่ยวชาญในการรู้จักและแยกแยะประเภทพืชและสัตว์ในสิ่งแวดล้อมของตน
วัย 6 ขวบอันตราย วายร้ายรุ่นจิ๋ว
ลูกช่วง 6 ขวบนี้เป็นอะไรไม่รู้ เหวี่ยงหนักเหลือเกิน ทั้งร้องกรี๊ดๆ กระทืบเท้า งอแงสุดๆ คุณแม่แสนจะสงสัยว่าหนูน้อยตัวเล็กๆ ที่แสนจะน่ารักคนนั้นหายไปไหน
พัฒนาลูกให้ถึงที่สุดของศักยภาพด้วย สมาธิ สติ ปัญญา สร้างสรรค์ และฝีมือ
เรียลพาเรนติ้งเน้นย้ำ ทักษะการเป็นพ่อแม่เลี้ยงลูกอย่างมีความสุข โดยต่อยอดส่งเสริมลูกให้พัฒนาถึงที่สุดของศักยภาพในตัวเขา ด้วยสติ ปัญญา สมาธิ สร้างสรรค์และฝีมือ หรือ 360 ํ Parenting Skills: Super Brain ซึ่งมีข้อคิดและทัศนะในการพัฒนาศักยภาพสูงสุดของความเป็นมนุษย์ที่ท่าน ว.วชิรเมธีได้อธิบายไว้ ซึ่งประจักษ์ในแนวทางการทำงานท่านมาโดยตลอดมาเป็นแนวทาง สมาธิ ซึ่งในที่นี้หมายถึงการมีจิตที่มีความมั่นคง ไม่หวั่นไหวไปกับสิ่งเร้าต่างๆ รอบตัว มีความสงบในจิตใจเพื่อให้พร้อมกับการเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว สติ ในที่นี้หมายถึง การมีจิตใจที่ดีงาม มีศีลธรรมประจำใจ เบิกบาน ผ่องใส มีความยั้บยั้งชั่งใจ ควบคุมความอยากได้ อยากทำสิ่งที่ไม่ดีต่อตัวเอง หรือความสามารถในการควบคุมอารมณ์ตัวเองได้ เป็นผู้มีวินัย รู้ว่าอะไรทำได้และอะไรทำไม่ได้ ยอมรับในกฎ กติกา มารยาทและสามารถครองตนอยู่ในสังคมอย่างเป็นพลเมืองดีที่สังคมยกย่องได้ ปัญญา ในที่นี้หมายถึง รู้เท่าทันทางโลก รู้เท่าทันทางธรรม มีความสามารถในการคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดอย่างมีเหตุผล และรู้จักในการคิดเป็น คิดถูก คิดดี คิดมีประโยชน์ สร้างสรรค์ ในที่นี้คือ […]
ของขวัญวันเกิด หรือ ของขวัญวันป่วน
คุณป้าอุตส่าห์วาดรูปเสียสวย ระบายสีน้ำอย่างดีใส่กล่องผูกโบเตรียมมาให้หลานสาวในวันเกิด แต่ทันทีที่กล่องเปิดเท่านั้นละ หน้าลูกสาวของคุณก็เปลี่ยนไป และบรรยากาศก็เริ่มมาคุทันที
สอนลูก ” ตีลังกา ” อย่างถูกวิธี
ทุกครั้งที่มีเสียงดัง “พลั่ก” อันเกิดจากก้นและส่วนต่างๆ ของร่างกายลูกหล่นลงมาจ้ำเบ้ากับพื้นเพราะตีลังกานี่มันแสนจะหวาดเสียวใช่ไหมล่ะคะเพราะเด็กๆ ที่อายุต่ำกว่า 4 ขวบนั้นไม่ควรตีลังกา
ลูกติดเพื่อนมากเกินไป ไม่ใช่เรื่องดี
แน่ละ การมีเพื่อนคือประโยชน์สำคัญสำหรับเด็ก ทั้งช่วยเรื่องพัฒนาการทางอารมณ์และสังคม สร้างความมั่นใจในตัวเอง รวมไปถึงช่วยลดความเครียดและความกังวล
วิธีกำราบเจ้าตัวป่วนกลางงานวันเกิดคนอื่น
เพราะในงานวันเกิดมีกิจกรรมและวัตถุเจ้าปัญหาอยู่หลายอย่าง ไหนจะเทียนบนขนมเค้กที่น่าเป่า ของขวัญกองโตน่าแกะทุกกล่อง ลูกโป่งใบโตเป็นพิเศษสำหรับเจ้าของวันเกิดที่ใครเห็นก็อยากได้เป็นเจ้าของ
“พูดทุกอย่างที่คิด แม่เสียวสันหลังนะลูก!”
ระหว่างเดินเล่นในห้างด้วยกัน จู่ๆ ลูกสาวก็กระตุกชายเสื้อของคุณ พร้อมพูดเสียงดังสนั่นชนิดได้ยินกันทั้งบาง “แม่ ดูคนนั้นสิ ทำไมเขาอ้วนอย่างนั้นละแม่!”
วิดีโอเกม..ก็มีข้อดีนะ
พ่อแม่ที่กำลังกลุ้มใจกับพฤติกรรมติดเกมของลูกๆ ทั้งหลายฟังทางนี้
ตั้งรับแบบไหน เมื่อลูกเริ่มสนใจ “สำรวจร่างกาย”
เพื่อนของดิฉันบอกว่าช่วงนี้เห็นลูกวัย 3 ขวบชอบโชว์ของสงวนกันกับเพื่อนในชั้นเรียน หากลูกของดิฉันเล่นแบบนั้นอยู่กับเพื่อนบ้าง จะทำอย่างไรดีคะ
สอนเด็กๆ ให้ “กินเมื่อหิว” และ “กินให้อิ่ม”
บ้านเราจะให้เด็กๆ กินขนมหลังอาหารได้ก็เมื่อกินข้าวหมดจาน ฉันรู้ว่าไม่ควรใช้ขนมเป็นรางวัล เดี๋ยวลูกจะติดเป็นนิสัย แต่ถ้าไม่ทำลูกๆ จะไม่ยอมกินข้าวให้หมดค่ะ ทำอย่างไรดีคะ
ปล่อยลูกเล่นสวนหน้าบ้านตามลำพัง ได้ไหม
ตอนนี้ลูกเริ่มโตแล้ว ถึงเวลาที่แม่จะให้เขาออกไปเล่นข้างนอกตามลำพังแล้วหรือยังนะ
ไม่ว่าไปไหน ลูกก็ใส่แต่เสื้อ (เก่า) ตัวเก่ง
เด็กวัยก่อนเรียนมีแนวโน้มที่จะเลือกใส่เสื้อผ้าตัวเดิมซ้ำแล้วซ้ำเล่า จนคุณพ่อคุณแม่อายแทน
น่ากลุ้มไหมล่ะ ลูกปลื้มแต่…ตัวร้าย
ถ้าถามเด็กชายเอนโซ วู้ด วัย 5 ขวบว่า ตัวละครที่เขาชอบมากที่สุดในเรื่องสตาร์ วอร์ส คือใคร คุณจะได้คำตอบว่า “ก็ต้องดาร์ธ เวเดอร์ สิฮะ! ฉากที่อนาคินตกลงไปในลาวาแล้วกลายเป็นดาร์ธ เวเดอร์ น่ะ เท่สุดๆ เลย!”
ควรปลอบแบบไหน เมื่อลูกต้องจากเพื่อนรัก
แม้จะไม่ใช่เรื่องที่เกิดขึ้นได้บ่อย แต่ “การจากกัน” ก็เป็นเหตุการณ์สำคัญสำหรับเด็กวัยเรียนไม่น้อย