พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล
พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล 3-6 ปี รวมเคล็ดลับกระตุ้นพัฒนาการ พัฒนาการเด็กวัยอนุบาล ทำให้ลูกได้เรียนรู้การช่วยเหลือตนเอง การอยู่ร่วมกับเพื่อน พัฒนาการเด็กวัย 3-6 ปี
“ต่อรอง” ทักษะแอบร้าย ที่พ่อแม่ต้องรู้ทัน
ลูกวัยนี้ขอต่อรองได้ทุกเรื่อง ทุกที่ ไม่ว่าจะโรงเรียน ร้านค้า ซูเปอร์มาร์เก็ต บ้านญาติ บ้านเพื่อน แค่ขอให้มีคนอื่นอยู่ด้วย
ชวนจอมซ่าเรียนรู้โลกกว้าง
เมื่อออกลุยกับลูกวัยซนแล้ว ควรพึงระวังว่าอย่าคาดหวังผิดเรื่อง เราเพียงอยากให้เขาได้เรียนรู้ด้วยตัวเอง ดังนั้นลูกก็ไม่จำเป็นต้องตอบถูก รู้หลักการจากคุณ รู้จักชื่อของทุกสิ่งทุกอย่างที่พบเห็นตามที่พ่อแม่คอยบอก
แย่แล้ว ลูกชอบจับอวัยวะเพศ!
ก่อนนอน ลูกสาวมักจับอวัยวะเพศ หรือบางครั้งก็เอาอวัยวะเพศไปถูๆ กับหมอนข้าง คุณแม่เห็นบ่อย แบบนี้คือลูกเริ่มมีความรู้สึกทางเพศแล้วหรือคะ อันตรายหรือไม่ อย่างไร
3-5 ขวบ พูดเก่งแค่ไหนนะ
เด็กวัย 3-5 ขวบเป็นวัยช่างจ้อช่างเจรจา ลูกน้อยจะใช้คำพูดในการสื่อสารบอกสิ่งที่ต้องการและบอกอารมณ์เพื่อให้คุณแม่เข้าใจเขา ว่าแต่เด็กน้อยในแต่ละวัยพูดกันได้แค่ไหนบ้างนะ
วัย 3-5 ยึดโยงตนเองสู่การเป็นส่วนหนึ่งของสังคม
ควรอธิบายให้ลูกฟังด้วยเหตุผลซึ่งพฤติกรรมที่แสดงถึงการยึดโยงตนเองเป็นศูนย์กลางนี้จะค่อยๆ ลดน้อยลง
3 เทคนิคสอนลูกน้อยจดจำตัวหนังสือ
ก. เอ๋ย กอไก่ ทำไมยากจัง ลูกน้อยวัย 3-5 ขวบ เป็นวัยอนุบาลซึ่งต้องเรียนรู้ตัวหนังสือเป็นครั้งแรก ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษมีตัวอักษรมากมายจนลูกน้อยจำไม่หวาดไม่ไหว วันนี้เรามีเทคนิคดีๆ มาฝาก
เล่นศิลปะให้ปลอดภัยด้วยสีผสมอาหาร
วิธีผสมสีผสมอาหารให้กลายเป็นสีน้ำทำได้ง่ายๆ เพียงคุณแม่นำสีผสมอาหารมาผสมกับน้ำสะอาด เลือกผสมน้ำและสีตามความเข้มที่คุณแม่ต้องการ
เลือกเกมเหมาะสมกับเด็กวัย 5-6 ปี
การเลือกเกมส์สำหรับเด็กถือเป็นเรื่องปวดหัวอย่างหนึ่งของผู้ปกครอง แม้ว่าจะมีอุปกรณ์ตัวช่วยอย่างแท็บเลตหรือสมาร์ทโฟนเข้ามามีบทบาทกับชีวิตประจำวันของคุณแล้วก็ตาม – เกมบวกเลข – เกมจับคู่ – เกมเติมคำ – เกม Racing – เกมทายคำศัพท์ – เกมต่อจุด การเลือกเกมเสริมความคิดและฝึกแก้ปัญหา จะช่วยสร้างสมาธิและฝึกทักษะ ที่สำคัญอย่าลืมกำหนดเวลาสำหรับเล่นเกมให้กับเด็ก และอย่าปล่อยให้เขาอยู่กับเครื่องมือเหล่านี้จนลืมออกนอกจอ บทความโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียล พาเรนติ้ง ภาพ: shutterstock
สังเกตอาการสมาธิสั้นในวัยประถม
สมาธิสั้น เป็นกลุ่มอาการที่เกิดขึ้นในเด็กวัยก่อน 7 ขวบ ซึ่งจะมีผลกระทบต่ออารมณ์ จิตใจ พฤติกรรม การเรียน มาดูกันว่าอาการแบบไหนเข้าข่ายสมาธิสั้นบ้าง
รู้ไหม? ลูกวัย 3-5 ขวบ ทุกลมหายใจคือการเล่น
วัยนี้เขาแข็งแรง มีพลังล้น (มาก) และเข้าใจอะไรมากขึ้นแล้ว แล้วเขาชอบเล่นแบบไหน พ่อแม่ควรเล่นหรือส่งเสริมเขาอย่างไร พบคำตอบได้ที่นี่!
สอนเด็กๆ ให้รู้จักเอาใจเขามาใส่ใจเรา
การเรียนรู้ของเด็กๆมักเกิดขึ้นจากการเฝ้าดูพฤติกรรมของผู้ใหญ่ ดังนั้นควรระลึกไว้เสมอว่าการกระทำใดๆของคุณอยู่ในสายตาของลูกตลอด
สอนเรื่องเวลา กับ เด็กวัยอนุบาล
พอลูกเริ่มไปโรงเรียนก็เลยซึ้งกับคำว่า ไม่รู้ร้อนรู้หนาวค่ะ บางวันยิ่งรีบกลับยิ่งช้า
แม่จ๋า หนูขอทำเอง
บางทีลูกเล็กก็อยากทำอะไรด้วยตัวเองนะ อย่าน้อยใจไป ควรยินดีกับเขาและตัวคุณเองเสียมากกว่า
ช่วยลูกขี้อายมั่นใจขึ้น (ทีละนิด)
ลูกของคุณขี้อายมากมาย เจอคนแปลกหน้าเป็นต้องหลบม้วนอยู่หลังแม่เกาะชายกระโปรงแน่น และคุณก็กังวลว่า
ลูกโตพอที่จะไปเล่นที่บ้านเพื่อนได้หรือยัง?
เมื่อลูกวัยนี้เริ่มเซ้าซี้ขอไปเล่นบ้านเพื่อนบ่อยขึ้น คุณเองก็ไม่ว่างไปเป็นเพื่อนทุกครั้ง แล้วเขาโตพอที่จะไปตามลำพังหรือยังนะ
สอนลูก ” ตีลังกา ” อย่างถูกวิธี
ทุกครั้งที่มีเสียงดัง “พลั่ก” อันเกิดจากก้นและส่วนต่างๆ ของร่างกายลูกหล่นลงมาจ้ำเบ้ากับพื้นเพราะตีลังกานี่มันแสนจะหวาดเสียวใช่ไหมล่ะคะเพราะเด็กๆ ที่อายุต่ำกว่า 4 ขวบนั้นไม่ควรตีลังกา
ลูกติดเพื่อนมากเกินไป ไม่ใช่เรื่องดี
แน่ละ การมีเพื่อนคือประโยชน์สำคัญสำหรับเด็ก ทั้งช่วยเรื่องพัฒนาการทางอารมณ์และสังคม สร้างความมั่นใจในตัวเอง รวมไปถึงช่วยลดความเครียดและความกังวล
วิธีกำราบเจ้าตัวป่วนกลางงานวันเกิดคนอื่น
เพราะในงานวันเกิดมีกิจกรรมและวัตถุเจ้าปัญหาอยู่หลายอย่าง ไหนจะเทียนบนขนมเค้กที่น่าเป่า ของขวัญกองโตน่าแกะทุกกล่อง ลูกโป่งใบโตเป็นพิเศษสำหรับเจ้าของวันเกิดที่ใครเห็นก็อยากได้เป็นเจ้าของ