พัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ
พัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ เป็นช่วงเวลาที่สมองเติบโตและพัฒนาอย่างรวดเร็ว พัฒนาการด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา และเคล็ดลับสร้างพัฒนาการที่ดีสำหรับเด็กเตาะแตะ
ลูกพัฒนาการช้า ควรไปหาหมอเมื่อไหร่ดี?
ลูกพัฒนาการช้า หรือพูดช้า เป็นอาการที่เกิดขึ้นกับเด็กวัย 2 ขวบที่ยังไม่สามารถเริ่มพูดเป็นคำที่มีความหมาย หรือเด็กวัย 18 เดือนที่ไม่สามารถทำตามคำสั่งได้
ลูกชอบเรียงของเล่นเป็นออทิสติก จริงหรือไม่?
คุณพ่อ คุณแม่เคยสังเกตลูกบ้างไหมคะ ว่าเคยมีพฤติกรรมแบบนี้บ้างหรือเปล่า? เช่น ชอบเรียงของให้เป็นระเบียบ เอาของเล่นมาเรียงกันเป็นแถวๆ หรือชอบจัดของ มีความเข้าใจด้านการเรียนรู้ได้ แต่ไม่สามารถสื่อสารออกมาได้ เพราะพูดเรียงประโยคไม่ถูกต้อง ตอบคำถามไม่เป็น ลูกชอบเรียงของเล่นเป็นออทิสติก ?
ลูกสมาธิสั้น แก้ไขด้วยวิธีการเลี้ยงแบบสมัยใหม่!
เด็กสมาธิสั้น หรือบางคนอาจเรียกว่าเด็กไฮเปอร์ ซึ่งเด็กมักจะทำอะไรได้ไม่นาน วอกแวก ไม่มีสมาธิ ไม่สามารถจดจ่อกับงานที่กำลังทำได้นานเพียงพอ เหม่อลอยง่าย
12 วิธี สำหรับพ่อแม่สอนลูก “ฝึกพูด”
ฝึกลูกพูด …เป็นที่ทราบกันดีว่า หากพ่อแม่อยากกระตุ้นพัฒนาการลูก โดยเฉพาะเรื่องภาษานั้น ควรเริ่มต้นเมื่อรู้ว่าคุณแม่ตั้งครรภ์ในช่วงแรกๆ
ประสบการณ์จากคุณแม่ ลูกพูดช้า สาเหตุ เพราะดูทีวี มือถือ และแท็บเล็ต
มีคุณแม่ท่านหนึ่งตั้งกระทู้ไว้ในพันทิป เล่าว่าลูกอายุ 2 ขวบแล้ว แต่ยังพูดไม่ได้ คุณแม่จึงรู้สึกว่า ลูกพูดช้า สาเหตุ เพราะดูทีวี มือถือ แท็บเล็ต
มาเข้าใจ พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ (วัยเตาะแตะ)
พัฒนาการเด็ก 1–3 ขวบ หรือเรียกว่า วัยเตาะแตะ (Toddler development) วัยนี้เป็นวัยที่มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องภาษาและการมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น
เชื่อหรือไม่! การนอนไม่พอของลูกรัก ส่งผลกระทบต่อสุขภาพทั่วไปและความสุขของลูกสุดที่รักได้อย่างน่าตกตะลึง
วันนี้คุณพ่อคุณแม่ ทราบไหมคะว่า!? สมองของลูกน้อยทํางานอย่างไรในขณะที่ลูกกำลังหลับ
พัฒนาการช้า ของลูก! … แบบไหนควรเริ่มปรึกษาแพทย์ดี?
สำหรับเด็กวัย 3-4 ขวบ มีพัฒนาการอะไรบ้างที่ถือว่าล่าช้าและควรปรึกษาแพทย์ เพื่อหาทางช่วยให้เด็กๆ มีพัฒนาการที่ดีขึ้น
จริงหรือ? … การนอนหลับกําหนดความฉลาดของลูกได้!
คุณพ่อคุณแม่หลายท่านอาจจะยังไม่ทราบว่า โดยความเป็นจริงแล้ว สมองของลูกสามารถเรียนรู้และ พัฒนาได้ตลอดเวลาทั้งกลางวันและกลางคืน
PDX สารอาหารตัวใหม่ ช่วยลูกน้อยลดป่วย พร้อมเรียนรู้
การเตรียมลูกให้พร้อมทุกการเรียนรู้ในช่วง 3 ปีแรกสำคัญมาก คุณแม่ทุกคนอยากเห็นพัฒนาการที่ต่อเนื่องไม่มีสะดุดของลูกน้อย
โอเมก้า 3 ดีกับพัฒนาการ 3 ด้านของลูกรัก
พัฒนาการของลูกรักเป็นสิ่งสำคัญมากสำหรับคุณแม่…
1-3 ขวบ ต้องการเป็นตัวของตัวเอง
“เด็กตัวเล็กที่ทั้งถือทั้งลากของเล่นไว้เยอะๆ จนตัวเองจะแบกไม่ไหว” นั่นแหละคือภาพที่บอกเล่าความเป็นเด็กวัยเตาะแตะ
วัย 1 – 3 เปลี่ยนพฤติกรรมกะทันหัน
อยู่ๆ ลูกก็กลับมาร้องไห้งอแงเวลาไปโรงเรียน ทั้งที่เลิกร้องไห้มาเป็นเดือนแล้ว เกิดอะไรขึ้นคะ
ฝึกลูกวัย 1-3 ขวบ รู้จัก ‘รอ’
เข้าสู่วัยเตาะแตะความสนอกสนใจทุกอย่างตลอดเวลาของลูกวัยนี้ทำให้ความอยากมีมากมายไปด้วย และพอไม่ได้อย่างใจ ลูกวัยนี้ก็พร้อมออกท่าไม้ตาย ร้องไห้โวยวาย ได้ในพริบตา ซึ่งมักจะได้ผลกับพ่อแม่เสียด้วย Challenge # 1 : พ่อแม่ผู้รู้ใจ ไม่ใช่โรคติดต่อแต่พ่อแม่เป็นกันค่ะ แค่ลูกปรายตามอง อยากได้อะไร คุณพ่อคุณแม่ก็รีบหยิบมาให้ทันที เรียกว่าเป็นผู้รู้ใจลูกจนน่าชื่นชม น่าจะแฮปปี้เอ็นดิ้งๆ “แต่คุณรู้หรือไม่ว่าการตอบสนองไวเกินไปทำให้ลูกรอคอยไม่เป็น แถมข่าวเศร้าทักษะภาษาของลูกจะเนิ่นช้าออกไปอีกด้วย เพราะไม่ต้องพูดอะไร แค่มองก็มีคนเอามาให้ แล้วจะพูดทำไมให้เมื่อย เลือกไม่พูดก็ได้นี่นา” เอาตัวรอดกันดีกว่า : “หัดยื้อเวลาเสียหน่อย เช่น ลูกชี้ไปที่ขวดนม คุณพ่อคุณแม่แกล้งทำท่างงใส่ พร้อมถามว่า “อะไรเหรอลูก” หรือลูกอยากจะได้ลูกบอลที่อยู่ข้างๆ ตัวเรา เราก็ดึงเวลาหน่อยด้วยการนับ หนึ่ง สอง สาม แล้วค่อยยื่นให้ ลูกจะเริ่มรู้ว่าบางครั้งอยากได้อะไร ก็ต้องรอหน่อยนะ” Challenge # 2 : แค่ขยับก็นึกว่าลูกอยากได้ ธรรมชาติของเด็กวัยเตาะแตะคือการสำรวจสิ่งต่างๆ รอบตัว ชอบหยิบจับ คว้า สัมผัส และรื้อค้น ไม่ว่าอะไรก็รู้สึกแปลกใหม่และอยากรู้อยากเห็นไปหมด เพราะเขายังไม่เคยพบเห็นมาก่อน […]
เคล็ดลับฝึกความคิดสร้างสรรค์ให้เด็ก
พ่อแม่ควรรู้และเข้าใจว่าความคิดสร้างสรรค์เป็นสิ่งที่ฝึกฝนพัฒนาได้ แต่การฝึกฝนนั้นเด็กๆ ต้องมีพ่อแม่เป็นครูผู้ฝึกคนสำคัญ
ใกล้ชิดลูก เสริมพัฒนาการวัย 1-3 ปี
เมื่อลูกย่างเข้าวัย 1-3 ปี พ่อแม่อาจจะใกล้ชิดกับเขาน้อยลงเพราะลูกเริ่มเดินได้คล่อง แต่เด็กวัยนี้ก็ยังต้องการความใกล้ชิดและเอาใจใส่จากพ่อแม่
ของเล่น ไม่ใช่แค่เรื่อง เล่นๆ
ถ้าเลือกให้ถูก ของเล่นก็ได้ประโยชน์มากกว่าแค่เรื่องเล่นๆ ดร.เคธี ไฮร์ช พาเส็ก ผู้เชี่ยวชาญด้านการเล่นอย่างมีคุณค่าของเด็กและผู้อำนวยการมหาวิทยาลัยเทมเพิลซึ่งเน้นการวิจัยเรื่องภาษาของทารก อธิบายว่า การเล่นของเล่นช่วยเสริมทักษะทางร่างกาย ภาษา และช่วยให้เด็กได้แสดงอารมณ์ความรู้สึกต่างๆ รวมถึงผ่อนคลายความวิตกกังวล ทั้งนี้ทั้งนั้น เด็กจะใช้ประโยชน์จากของเล่นได้สูงสุดก็ต่อเมื่อเข้าไปเล่นและมีส่วนร่วมกับของเล่นนั้นอย่างสร้างสรรค์ เด็กควรได้เล่นของเล่นหลากหลาย ไม่จำกัดเฉพาะประเภทใดประเภทหนึ่ง แต่ผู้ปกครองต้องไม่สับสนระหว่างคำว่า “หลากหลาย” กับ “มากมาย” เด็กไม่จำเป็นต้องมีของเล่นเป็นภูเขา เพราะนั่นอาจทำให้เขาไขว้เขวจนไม่รู้จะเล่นของเล่นชิ้นไหน และไม่มีสมาธิเวลาเล่น ที่มา: กองบรรณาธิการเรียลพาเรนติ้ง
พาออกนอกบ้านทีไร ทำไมลูกถึง “ติด” แม่จัง
แม้พ่อแม่จะดีใจเวลาที่ลูกแสดงอาการ “ติดแม่” แต่พออาการของลูกออกจะดราม่ามากไปเวลาแม่หรือพ่อลับสายตาคงน่ากลุ้มมากกว่า.. มาทำความเข้าใจอาการติดแม่ของลูกกันค่ะ