พัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ
พัฒนาการเด็กวัยเตาะแตะ เป็นช่วงเวลาที่สมองเติบโตและพัฒนาอย่างรวดเร็ว พัฒนาการด้านอารมณ์ สังคม สติปัญญา และเคล็ดลับสร้างพัฒนาการที่ดีสำหรับเด็กเตาะแตะ
รักนี้ รุนแรงตลอด กอดไม่ยั้ง
หมู่นี้ แม่มะปรางไม่ค่อยสบายใจ เพราะเห็นเมฆ ลูกชายคนโตน้ำตาซึมบ่อยๆ เวลาเล่นกับหมอก น้องชายซึ่งตอนนี้อายุได้ 1ขวบกับ 3 เดือนแล้ว
ตัวแค่นี้ เลือกเสื้อผ้าใส่เองแล้วนะ
เรื่องแต่งตัวของหนุงหนิงมักเป็นประเด็นปวดเศียรเวียนเกล้าของคุณแม่เสมอ ตั้งแต่อายุได้ขวบเศษๆ คราวจะพาออกงานแต่งงาน แม่เตรียมชุดสวยให้ ลูกสาวกลับเลือกใส่ยีนส์
ชวนแม่เล่นซ่อนหา
“แอบ แอบ แอบ!” มะเหมี่ยวร้องตะโกนขณะวิ่งออกไปยังลานหน้าบ้าน แม่หนูรู้จักการเล่นซ่อนหาตอนอายุ 2 ขวบครึ่ง
เมื่อพี่ไปโรงเรียน
วันแรกที่พี่สาวไปโรงเรียน น้องต๊อบวัย 2 ขวบได้แต่เดินไปเดินมารอบๆบ้าน และถามว่า “พี่หนูอยู่หนาย…”
หนูชอบกล่องเหลือเกิน
คำถามที่คุณสงสัยมากที่สุดอาจไม่ใช่ ‘ลูกอยากได้อะไรเป็นของขวัญวันเกิดในปีนี้’ แต่เป็น ‘ทำไมลูกถึงยินดีจะแลกของชิ้นนั้นกับกล่องที่ใส่มันมา’
หนูคือ ลิตเติ้ล ปริ้นเซส ค่ะ
คุณแม่ท่านหนึ่งจากชิคาโก้ เล่าว่า อันย่า เกรซ ลูกสาว วัย 3ขวบของเธอชอบติ๊ต่างว่าตัวเองเป็นเจ้าหญิงมาก
หนูไม่อยากนอนกลางวันแล้ว
คุณรู้หรือยัง เมื่อลูกย่างเข้าวัยเตาะแตะ เขาจะนอนกลางวันน้อยลง คราวนี้มีเกร็ดเกี่ยวกับการนอนพักระหว่างวันของลูกวัยนี้มาฝาก
วัยนี้ มีเหวี่ยงขั้นสุดนะ
ลูกขวบปีแรก ยามหิวหรือง่วงหนักๆ จนหงุดหงิด ก็เพียงแค่ร้องไห้เตือน
เล่นจั๊กจี้กับลูก ช่วยเสริมพัฒนาการได้จริงหรือ?
เป็นไปได้หรือ เล่นจั๊กจี้กับลูก จะช่วยเสริมพัฒนาการได้ แล้วต้องเล่นประมาณไหน ที่นี่มีคำตอบ!
วัย 1-3 น่ะ ยิ่งห้ามเหมือนยิ่งยุ
คุณแม่หน่อยสังเกตว่า เมื่อใดที่เธอปฏิเสธไม่ให้ทำอะไรสักอย่าง เจ้าลูกแฝดทั้งสองเป็นต้องอยากทำสิ่งนั้นเสียเหลือเกิน
นำร่องลองของใหม่
วัยเตาะแตะส่วนมากมักกินอาหารไม่หลากหลาย คุณอาจกังวลว่าเขาได้สารอาหารไม่เพียงพอต่อการเจริญเติบโต
ลดอาการโวยวาย โมโหร้ายของวัยเตาะแตะ
น้องชื่นอายุ 1 ขวบ 2 เดือน โมโหร้ายมาก จะร้องกรี๊ด ปึงปัง และตะโกน ช่วงนี้เป็นค่อนข้างบ่อย แม่ทำอย่างไรก็ไม่ยอมหยุด
หลายอย่างทำไป เพราะหนูสงสัยนี่
พอเห็นน้องกิ๊ฟ ลูกสาววัย 2 ขวบ เอามือฟาดแมวเหมียวตัวน้อยที่เดินผ่านมาใกล้ๆเสียเต็มแรง คุณแม่กุ้งก็พูดกับน้องกิ๊ฟว่า “ไม่ตีแมวนะคะลูก เอามือลูบตัวมันเบาๆดีกว่าค่ะ”
สอนลูกรู้จักเห็นใจผู้อื่น
คุณคงแปลกใจระคนยินดีที่เห็นลูกวัยเตาะแตะซึ่งเคย “สนใจแต่เรื่องของตัวเอง” กลายเป็นเด็กที่รู้จักเข้าใจความต้องการของผู้อื่น
ทำไมต้องเรียก “ชื่อแม่” ด้วย
เวลาน้องนัทวัย 3 ขวบตะโกนเรียกหา “แม่ ” แล้วไม่ได้รับความสนใจในทันทีทันใด หนูน้อยมักใช้มุกเด็ดด้วยการเรียก “ชื่อแม่ ” แทน
ชวนลูกวัยหัดพูดเรียนรู้เรื่องสีสันกันเถอะ
วัยประมาณ 2-3 ขวบ ลูกจะเริ่มพูดชื่อของสีได้แล้ว เพราะก่อนหน้านั้นแม้หนูจะแยกสีออกแต่ก็ยังพูดไม่ได้นั่นเอง มาสอนลูกเรื่องสีสันกันดีกว่าค่ะ
ลูกหมกมุ่น “เล็กๆ”
น้องเบนวัย 2 ขวบชอบความรู้สึกที่ว่าตัวเองสามารถควบคุมอะไรบางอย่างได้ และนี่ก็เป็นเหตุผลข้อหนึ่งที่ทำให้หนูน้อยชอบเปิด – ปิดสวิตช์ไฟเป็นชีวิตจิตใจ
วัย1-3 ไม่ชอบเล่นด้วยกัน จริงหรือ
ทั้งที่พามานั่งอยู่ข้างๆ กัน ให้เล่นของเล่นกองเดียวกัน แต่เตาะแตะกลับไม่เล่นด้วยกัน ทำไมกันนะ?