การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ
การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ หรือเด็กวัยก่อนเรียน พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กวัย 1-3 ปี จินตนาการ การเรียนรู้เด็กจำเป็นต้องเริ่มต้นตั้งแต่วัยทารก วัยเตาะแตะจนถึงวัยอนุบาล
ไหนพูด ” ขอ ” กับแม่ ดีๆสิ
ตอนแรกๆ ที่ลูกวัยเตาะแตะยื่นถ้วยนมให้ พร้อมพูดห้วนๆ ว่า นม ! คุณอาจรู้สึกว่าลูกเก่ง เพราะรู้จักบอกเวลาอยากจะได้อะไรสักอย่าง
คำว่า ” ไม่ ” พูดกับลูกได้ แต่อย่าเยอะ
ถ้าลูกของคุณเป็นหลานคนแรกของทั้งสองฝั่งและมีทุกอย่างที่เด็กๆ มักอยากได้ ไม่ว่าจะเป็นของเล่น นิทาน หรือเสื้อผ้า คุณคงกังวลว่าการไม่คุ้นเคยกับคำว่า ไม่ จะกลายเป็นการตามใจจนทำให้เขาเสียเด็กหรือเปล่า
การสอนลูก ทำได้ทุกที่ ทุกเวลา
ให้หนูเป็นเด็กดี ดูเหมือนว่าเจ้าตัวน้อยในวัยนี้จะสนอกสนใจกับสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่หรือคนอื่นๆ รอบตัวทำให้หรือปฏิบัติต่อพวกเขาเป็นพิเศษ
ลูกเบื่อนั่งรถนานๆ…ทำอย่างไรดี
คุณพ่อคุณแม่ของเจ้าหนูวัยเตาะแตะคงเคยเจออาการหงุดหงิดงอแงยามที่ต้องนั่งรถนานๆ กันทุกคน โดยเฉพาะในกรณีที่ไปกันแค่สองแม่ลูก
ลูกพร้อมบอกลาผ้าอ้อมแล้วหรือยัง
เมื่อ 2 เดือนที่แล้ว ตอนหลิงหลิงครบ 1 ขวบ คุณพ่อคุณแม่เริ่มสอนให้นั่งกระโถนแทนที่จะใส่ผ้าอ้อม
เย้าแหย่ แบบไหน ลูกไม่รู้สึกแย่
เราชอบพูดแหย่ลูกเล่นสนุกๆ และเขาก็ดูเหมือนสนุกไปกับเราด้วย แต่เคยได้ยินมาว่า
ลูกเริ่มไม่อยากนอนกลางวัน
หนึ่งชั่วโมง…สองชั่วโมง…นอนแค่ไหนถึงจะพอนะ สำหรับวัยหัดเดินจอมซน ที่การจับนอนกลางวันดูจะ ยากขึ้นเสียแล้ว
อาการ ” เสียหน้า ” พาลูกน้อยเสียน้ำตา
ผ้าอ้อมกลิ่นตุ (เพราะมีอึกองโตอยู่ในนั้น) หรือน้ำผลไม้ที่หกเลอะ
รับมือเตาะแตะ “ชอบขว้าง”
วัยเตาะแตะกับนิสัยชอบขว้างเป็นของคู่กัน ขั้นตอนการจับ-กำ-แล้วปล่อยนั้นสนุก ได้มองของซึ่งกำลังลอยห่างออกไปด้วยแรงของตัวเองอีก แต่เป็นเรื่องปวดหัวของคุณแม่!
พี่-น้อง ง่วงนอนไม่พร้อมกัน ทำยังไงดี
อาบน้ำ แปรงฟัน แต่งตัว ฯลฯ พร้อมเข้านอนในเวลาเดียวกันทั้งพี่ – น้อง แต่อ่านนิทานให้น้องฟังเรื่องหนึ่งก่อน แล้วห่มผ้า
ฮา โหล ๆๆ สวัสดีครับ
คุณยายโทร.มาทีไร น้องเพลงเป็นต้องอยากคุยด้วยทุกครั้ง
3 บทบัญญัติสกัดคิวบู๊จูเนียร์
1. รู้ทันตัวกระตุ้น “หิว” “เบื่อ” “รำคาญ” “เหนื่อย” อาจทำเจ้าตัวเล็กเลือกบทบู๊ ฉะนั้นเมื่อเห็นท่าไม่ดี รีบดึงลูกออกมาให้พ้นสถานการณ์ดังว่า การช็อปปิ้งกับวัยนี้ไม่เกิน 30 นาทีจะดีที่สุด 2. เอาน้ำเย็นเข้าลูบ คว้าหมัดกลมๆ นั้นให้ทันzแล้วพูดนิ่งๆ แต่จริงจังว่า ไม่ ให้ลูกรู้ว่าโกรธน่ะได้ แต่ใช้หมัดคงไม่ได้ เมื่อโกรธให้พูด หนูโกรธแล้วนะ! แทน 3. ทำเป็นตัวอย่าง ถ้าคุณโวยกับเรื่องเล็กๆ (เช่น สามีทิ้งเสื้อไว้ที่พื้น) ลูกก็เรียนรู้ที่จะวีนกับเรื่องเล็กๆ เช่นกัน และหากมันเกิดในที่สาธารณะ อย่าเต้นตอบเป็นเด็กๆ ทีเดียวเชียว บทความและภาพโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง
บ๊ายบายจุกนมหลอก
เคล็ดลับดีๆ ที่คุณแม่พิสูจน์มาแล้วว่าช่วยให้ลูกวัยเตาะแตะยอมเลิกติดจุกนมหลอกได้โดยสันติ !
พาลูกไปงานเลี้ยงอย่างไรให้สนุกและสันติ!
ไม่ว่างานเลี้ยงนั้นเป็นงานใหญ่หรือเป็นเพียงการรวมกลุ่มเพื่อนฝูงสิ่งที่จะทำให้ค่ำคืนปาร์ตี้ของคุณไม่โกลาหลเมื่อต้องพาลูกจอมซนวัยเตาะแตะไปด้วยก็คือ
วิธีรับมือกับคำว่า ” ไม่ ” ของลูก
ช่วงนี้แม่ฝนมักได้ยินน้องมุกพูดคำว่า ไม่ อยู่เป็นประจำ แต่ถ้าเมื่อไรที่แม่ฝนเป็นฝ่ายพูดคำคำนี้ เจ้าตัวกลับทำเฉยวางท่าไม่สนใจ และแอบอมยิ้มกับความสุขเล็กๆ ที่ตัวเองได้ขัดคำสั่งของแม่บ้าง
อยากให้ลูก พูดเพราะ สอนได้ ไม่ยาก
ถึงแม้ว่าเจ้าตัวน้อยของคุณยังพูดได้ไม่คล่อง และอาจมีหลายครั้งคุณต้องใช้เวลากับการถอดรหัส แปลภาษาที่เจ้าตัวตั้งใจพูดกับคุณอยู่เป็นนาน
ฝึกมารยาท วัย 1-3 ปี
เทคนิคเล็กๆ ได้ผลชะงัด ไว้จัดการเวลาลูกทำพฤติกรรมแย่ๆ
สงสัยจัง เรื่องการชงนม
เราสามารถเก็บนมที่ชงแล้วได้นานกี่ชั่วโมง ถ้าไม่ได้เก็บไว้ในตู้เย็น เพราะลูกมักดูดไม่หมดในครั้งเดียว