การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ
การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ หรือเด็กวัยก่อนเรียน พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กวัย 1-3 ปี จินตนาการ การเรียนรู้เด็กจำเป็นต้องเริ่มต้นตั้งแต่วัยทารก วัยเตาะแตะจนถึงวัยอนุบาล
สร้างวินัยการกินให้ลูกกันเถอะ
คุณแม่นันเล่าให้ฟังว่า “ลูกเพิ่งกินข้าวเสร็จไม่นานก็บ่นว่าหิวอีกแล้ว แม้ตอนนี้ลูกจะไม่อ้วน แต่แม่กลัวว่าถ้าให้ลูกกินอย่างที่ขอทั้งหมด ต้องกลายเป็นเจ้าหนูตุ้ยนุ้ยแน่ๆ”
สอนลูกเล่นกับเพื่อน “สมมติ”
วัยเรียนรู้ของเจ้าตัวเล็กมาถึงแล้ว ตอนนี้ลูกของคุณอาจจะกำลังชอบเล่นกับเพื่อนใหม่ ซึ่งก็คือเพื่อนในจินตนาการของเขา
ลูกชอบทำตัวมอมแมม
ลูกสาวทำตัวมอมแมมอยู่ตลอดเวลา ต่อให้จับอาบน้ำและเปลี่ยนเสื้อผ้าให้ใหม่ก็นั่งสวยๆ อยู่ได้ไม่เกิน 2 นาที เจ้าตัวดีก็ทำเสื้อเปรอะอีกแล้ว ไม่ทราบจะแก้ปัญหาอย่างไรดี
“คำไหน” ไม่ควรพูดกับลูก
วิธีที่ดีที่สุดในการเลี้ยงลูกให้เป็นเด็กดี นั่นคือมีทัศนคติเชิงบวกเมื่อพูดคุยกับลูก
เมื่อหนูไม่รู้จักคำว่า “รอ”
คงเป็นเรื่องน่าปวดหัวไม่ใช่เล่นสำหรับคุณพ่อคุณแม่ เมื่อต้องรับมือกับอาการ “จะเอาเดี๋ยวนี้” ของเจ้าตัวเล็ก
เปลี่ยนคำว่า ” ไม่ ” เป็น ” ได้ ” บ้างเถอะนะ
การตอบปฏิเสธลูกวัยเตาะแตะมักเป็นสิ่งที่ต้องทำ แต่วิธีนี้ก็คงทำให้ทั้งคุณและลูกเสียความรู้สึกมิใช่น้อย เพราะฉะนั้นเรามาลดจำนวนครั้งที่จะพูดคำว่า ไม่ กับลูกกันดีกว่า
กอดอย่างไร ไม่ทำให้ลูกอึดอัด
ทำไมอยู่ดีๆ ลูกน้อยที่เคยชื่นชอบอ้อมแขนของผู้เป็นแม่ถึงดิ้นรนผลักไสทุกครั้งที่แม่พยายามจะกอดให้ชื่นใจ ลูกไม่รักแม่แล้วหรือไงนะ
ไปกินข้าวนอกบ้าน (แบบราบรื่น) กันนะลูก
วัยเตาะแตะสามารถอ้อยอิ่งได้ทุกที่ ยกเว้นบนเก้าอี้ที่นั่งกินข้าวอยู่! เรามีเคล็ดลับในการพาลูกวัย 1 – 2 ขวบไปกินข้าวข้างนอกบ้านอย่างสันติ และทำให้ทุกคนสนุกกับกิจกรรมนี้มากขึ้นมาฝากกัน
พูดเบาๆ หน่อยสิลูก
เด็กๆ ชอบทำเสียงดัง (มาก…ก) กันทุกคน ทั้งกรี๊ดทั้งตะโกนเวลาตื่นเต้นหรือต้องการเรียกร้องความสนใจ ทั้งที่พูดด้วยความดังปกติก็ได้ แล้วจะสอนลูกอย่างไรดี
9 วิธี สยบสงคราม ยามสระผมเตาะแตะ
ถึงเวลาสระผมทีไร เจ้าตัวน้อยเป็นต้องทั้งดิ้นทั้งร้องกรี๊ดๆ จนสระเสร็จ ทำเอาเหนื่อยและเข็ดขยาดกันทั้งสองฝ่าย จะมีทางออกดีๆ บ้างไหมนะ
เมื่อลูกต้องนอน “ต่างที่”
การต้องนอนในที่ใหม่ๆ ที่ไม่ใช่บ้านเช่น ศูนย์รับเลี้ยงเด็กหรือบ้านญาติพี่น้อง
เคล็ดลับจัดการของเล่นเกลื่อนบ้าน
“อธิบายกับลูกว่าเรากำลังจะทำความสะอาดบ้านกันนะ และจะต้องแยกประเภทของเล่นเป็น 3 กองด้วยกัน หนึ่ง คือของเล่นที่อยากจะให้กับคนที่ไม่มี สองของเล่นที่เราสามารถเอาไปขายและเอาเงินไปซื้อของเล่นชิ้นใหม่ได้ (กองนี้ดูจะมีน้อยที่สุด) และกองสุดท้าย เป็นของเล่นที่จะเก็บไว้เล่นอีก หลังจากจัดการแยกประเภทแล้วเราก็จะแบ่งกองสุดท้ายเป็น 2 กองกองหนึ่งเป็นของเล่นประจำ และอีกกองเป็นของเล่นที่จะเอาออกมาในโอกาสพิเศษ” วาริธร คุณแม่น้องเมย์ 4 ขวบ และน้องมิ้ม 2 ขวบ “ขอสารภาพว่าแม่ชอบจัดการเหล่าของเล่นเมื่อตอนที่ลูกหลับ แต่แม่ก็อธิบายกับลูกอยู่เสมอว่าเราต้องแบ่งปันของเล่นบางอย่างให้กับคนที่ไม่มีบ้าง เราจะได้มีห้องว่างขึ้นสำหรับของเล่นวันเกิดของลูกน่าประหลาดใจมากที่เขาก็เข้าใจด้วยค่ะ” นพวรรณ คุณแม่น้องวาว วัย 5 ขวบ 6 เดือน “ลูกชายคนนี้จะช่วยคุณพ่อคุณแม่เลือกของเล่นที่อยากจะบริจาคให้พี่เลี้ยง (ซึ่งก็คือคุณน้าของเขาเองค่ะ) และเขาก็จะเอาไปให้หลานๆ คนอื่นเล่นบ้าง หรือไม่ก็บริจาคบ้างเทคนิคคือ เราจะเก็บกวาดของเล่นหลังจากโอกาสพิเศษ เช่น งานวันเกิด เพราะเขาจะมีของเล่นชิ้นใหม่มาดึงความสนใจแทน สุพิชญา คุณแม่น้องพีช วัย 4 ขวบ 3 […]
ทีวีจะมีประโยชน์ ถ้าเลือกรายการ
คุณแม่หลายท่านปล่อยให้ลูกดูโทรทัศน์อยู่คนเดียว เพราะคิดว่า “ปล่อยไว้หน้าทีวีไม่เป็นไรหรอก รายการนี้เป็นของเด็ก แถมเราจะได้มีเวลา
กลเม็ดพาลูกเตาะแตะนอนกลางวัน
นอนกลางวัน ไม่เห็นสนุกตรงไหน จึงไม่ใช่กิจกรรมน่าปลื้มนักของเจ้าเตาะแตะ (ที่หายใจเข้าก็อยากรู้ หายใจออกก็อยากเห็น)
ทำหนังสือของตัวเองกันเถอะ
หากลูกได้ลองทำหนังสือเอง รับรองว่าจะรักหนังสือขึ้นเยอะเลย
ลูกเตาะแตะยังต้องนอนกลางวันอยู่หรือเปล่า
พอเข้าวัยเตาะแตะ พ่อหนูแม่หนูต้องการเวลานอนน้อยลง บางคนถึงกับไม่ยอมนอนกลางวันเอาเสียเลย ทำเอาคุณพ่อคุณแม่เป็นกังวล เอ…ลูกเราจะพักผ่อนพอหรือเปล่า
เปลี่ยนลูกให้เป็น ศิลปินตัวน้อย
ถ้าคุณเห็นลูกน้อยอายุ 1 ขวบหรือเพิ่งเริ่มเดิน สนใจหยิบดินสอ ปากกามาขีดเขียน อาจสงสัยว่าตัวแค่นี้จะทำงานศิลปะแล้วหรือ
บอกลูกล่วงหน้า ก่อนพาไปหาหมอ
เด็กๆ มักไม่ชอบไปหาหมอ เพราะกลัวว่าขั้นตอนในการตรวจจะทำให้เขาเจ็บ จะโดนฉีดยา จะไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ หรือไม่ชอบสไตล์การพูดคุยของคุณหมอ