เด็ก 1-3 ปี
พัฒนาการเด็กเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรให้ความสำคัญอย่างยิ่งในวัย เด็ก 1-3 ปี เด็กจะ พูดจาโต้ตอบได้ดี เคลื่อนไหวของร่างกายได้มากขึ้น ทำตามคำสั่งง่าย ๆ ได้
พูดกับลูกยังไง ไม่ให้ทึ้งผม
เวลาลูกสาวที่บ้านไม่ได้ดั่งใจทีไร แกชอบทึ้งผมตัวเองทุกทีเลย ทำอย่างไรดีคะ
ไหนพูด ” ขอ ” กับแม่ ดีๆสิ
ตอนแรกๆ ที่ลูกวัยเตาะแตะยื่นถ้วยนมให้ พร้อมพูดห้วนๆ ว่า นม ! คุณอาจรู้สึกว่าลูกเก่ง เพราะรู้จักบอกเวลาอยากจะได้อะไรสักอย่าง
เล่นอยู่กับที่ก็สนุก (สุดๆ) ได้
หลังกลับมาจากทำงาน คุณคงอยากนั่งพักให้หายเหนื่อย แต่ก็ยังอยากเล่นกับลูกใจจะขาด เรามีวิธีง่ายๆ ให้คุณได้เล่นกับลูกพร้อมพักผ่อนบนโซฟามาให้นำไปใช้กัน
รับมือเตาะแตะ “ชอบขว้าง”
วัยเตาะแตะกับนิสัยชอบขว้างเป็นของคู่กัน ขั้นตอนการจับ-กำ-แล้วปล่อยนั้นสนุก ได้มองของซึ่งกำลังลอยห่างออกไปด้วยแรงของตัวเองอีก แต่เป็นเรื่องปวดหัวของคุณแม่!
เห็นปุ่มทีไรเป็นต้องกด!
แม้ว่าพฤติกรรมหมกมุ่นกับการกดสารพัดปุ่ม ตั้งแต่รีโมท สวิตซ์ไฟ โทรศัพท์มือถือ ไมโครเวฟ ฯลฯ จะทำเอา ปุ่มโมโห ของคุณทำงานเหมือนกัน
คำว่า ” ไม่ ” พูดกับลูกได้ แต่อย่าเยอะ
ถ้าลูกของคุณเป็นหลานคนแรกของทั้งสองฝั่งและมีทุกอย่างที่เด็กๆ มักอยากได้ ไม่ว่าจะเป็นของเล่น นิทาน หรือเสื้อผ้า คุณคงกังวลว่าการไม่คุ้นเคยกับคำว่า ไม่ จะกลายเป็นการตามใจจนทำให้เขาเสียเด็กหรือเปล่า
ฝึกลูกคลาน และเดินอย่างไรดี?
ช่วงที่ลูกน้อยเริ่มหัดคลานจะกระทั่งเดินได้ สำหรับคุณพ่อคุณแม่หรือแม้แต่คนใกล้ชิด ล้วนเป็นช่วงลุ้นระทึกและน่าตื่นเต้น เรามาช่วยเด็กน้อยฝึกคลาน-ยืน-เดินกัน!
กลวิธีพาลูกละจากการเล่น
เด็กวัยนี้อาจจดจ่อกับการเล่นหรือกิจกรรมที่เขากำลังทำมากเป็นพิเศษ ซึ่งบางครั้งก็นับเป็นเรื่องดี แต่บางหนก็เป็นปัญหาสำหรับพ่อแม่อยู่เหมือนกัน
รับมือ! พฤติกรรมเตาะแตะน้อยช่างรื้อ
เจ้าตัวน้อยในวัยนี้หลายคนมีนิสัยชอบรื้อค้นข้าวของให้กระจัดกระจายไปหมด หรือไม่ก็กองสุมจนเกือบหาอะไรไม่เจอเลยก็มี จัดการอย่างไรดี?
ลูกเบื่อนั่งรถนานๆ…ทำอย่างไรดี
คุณพ่อคุณแม่ของเจ้าหนูวัยเตาะแตะคงเคยเจออาการหงุดหงิดงอแงยามที่ต้องนั่งรถนานๆ กันทุกคน โดยเฉพาะในกรณีที่ไปกันแค่สองแม่ลูก
โอย! ทำไมไม่นั่งกินดีๆ ละจ๊ะลูก
ไม่ว่าคุณจะขอร้อง อ้อนวอน พร่ำเรียก หรือดุว่าสักแค่ไหน ลูกวัยเตาะแตะก็ไม่ยอมนั่งกินดีๆจนท้องอิ่ม ผุดลุกผุดนั่งจนคุณท้อ กินได้แค่ 2-3 คำอาหารก็เย็นชืดไม่น่ากินซะแล้ว
เมื่อลูกฮา พาแม่เครียด
ทำไมหนอลูกเราถึงชอบเล่นตลก ทำท่าแปลกๆ บ๊องๆ อยู่เรื่อย ใหม่ๆ ก็น่ารักน่าชัง เรียกเสียงหัวเราะได้ดี แต่หลังๆ ชักน่ารำคาญจนคนอื่นไม่ค่อยสนุกด้วยแล้ว
ลูกพร้อมบอกลาผ้าอ้อมแล้วหรือยัง
เมื่อ 2 เดือนที่แล้ว ตอนหลิงหลิงครบ 1 ขวบ คุณพ่อคุณแม่เริ่มสอนให้นั่งกระโถนแทนที่จะใส่ผ้าอ้อม
เทคนิคสยบ อาการ หงุดหงิด อาละวาด เหวี่ยงวีน
ถ้าลูกชอบร้องไห้แบบไม่มีเหตุผลหรือแผลงฤทธิ์เมื่อไม่ได้ดังใจ คุณจะรับมืออย่างไรดี
คิดให้ดี คำสั่งแม่นี่คลุมเครือรึเปล่า?
ไม่ว่าแม่จะสั่งให้เก็บของเล่นที่กองอยู่เต็มบ้านหรือแต่งตัวออกไปเที่ยวนอกบ้านกัน หนูน้อยก็ไม่ทำตามที่แม่สั่งเลยสักอย่าง แล้วอย่างนี้จะยอมให้ความร่วมมือกับคุณครูตอนต้องไปโรงเรียนหรือเปล่าเนี่ย
เย้าแหย่ แบบไหน ลูกไม่รู้สึกแย่
เราชอบพูดแหย่ลูกเล่นสนุกๆ และเขาก็ดูเหมือนสนุกไปกับเราด้วย แต่เคยได้ยินมาว่า
เมื่อลูก อยากลองของ
ถ้าคุณสุดจะทนกับพฤติกรรมท้าทายของวัยเตาะแตะ เช่น หย่อนเลโก้ใส่ในช่องแอร์ทีละอัน
ป่วนทุกที เวลาที่แม่ติดสาย
อาจเหมือนเรื่องเล็ก แต่ก็เป็นประเด็นคลาสสิก ที่คุณแม่หลายคนอยากหาทางแก้แบบละมุนละม่อม คุณแม่จูเล่าว่าน้องแจ็ค ลูกชายวัย 1 ขวบ 8 เดือน จะเกิดอาการหวีดวีน ทุรนทุรายทุกทีเวลาที่แม่มีโทรศัพท์เข้า ดูเหมือนเขาต้องการความสนใจมากเป็นพิเศษในจังหวะนั้น วัยเตาะแตะ “ไม่ปลื้ม” กับอะไรก็ตามที่มาแย่งความสนใจของคุณไป ไม่ว่าจะเป็นกระดาษบนโต๊ะที่แม่กำลังจดรายการกับข้าว อาหารในครัวที่แม่ต้องปรุงให้เสร็จ และแน่นอน เจ้าโทรศัพท์ที่ดังแบบไม่มีปี่มีขลุ่ย เด็กวัยนี้ทำตัวไม่ถูก รู้สึกเคว้ง เมื่อพ่อแม่ละความสนใจจากเขาไปคุยกับวัตถุชิ้นเล็กอย่างกะทันหัน และปฏิกิริยาเดียวที่เขาพอจะนึกออกคือ “กรี๊ด” เพื่อเรียกความสนใจคืนมา และพ่อแม่ส่วนใหญ่ยอมจำนนต่อมือน้อยๆ ที่ทึ้งอยู่ตรงหัวเข่า ยอมวางสายทั้งนั้น ทั้งนี้อาการเอาชนะโทรศัพท์ขึ้นอยู่กับพื้นอารมณ์ของเด็กและวิธีรับมือของคุณด้วย คาถาให้การคุยราบรื่นคงไม่มี แต่เรามีเทคนิคให้ลูกยอมสงบชั่วครู่มาแนะนำ ทำเป็นตื่นเต้น แทนที่จะกำชับว่า “เดี๋ยวตอนแม่คุยโทรศัพท์ลูกห้ามกวนเข้าใจไหม” เพราะแน่นอนว่ามันไม่ได้ผลหรอก เมื่อโทรศัพท์ดัง รีบรุดไปที่โทรศัพท์อย่างตื่นเต้น “อุ๊ย! ใครโทร.มาน้า”เพื่อให้รู้ว่าโทรศัพท์ไม่ใช่ศัตรู แต่เป็นเพื่อนที่น่าตื่นเต้นต่างหาก อย่าระเบิดอารมณ์กลับ ข้อนี้คือกฎเหล็กในการตอบสนองวัยเตาะแตะอยู่แล้ว ความต้องการคุณแบบปุบปับนี้ แม้คุณเองจะรู้สึกว่ามันดูไม่สมเหตุสมผลเท่าไร แต่หากยิ่งต่อต้านหรือเล่นไม้แข็งอาการวีนมีแต่จะลุกลามเท่านั้น สัมผัส ลูบหลัง กอดเขาไว้ อุ้มมานั่งตัก และเล่นกระเด้งดึ๋งๆ ช่วยลดอาการ “อิจฉาโทรศัพท์” […]