ทารก 0-1 ปี
แหล่งรวบรวมความรู้ ทารก 0-1 ปี บทความ ด้านโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ของทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี ลูกจะเปลี่ยนไปยังไงบ้าง รวบรวมพัฒนาการทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ
“แอลฟา-แล็คตัลบูมิน” สารอาหารที่พบในนมแม่ จับคู่ “ดีเอชเอ” สารอาหารเพิ่มพลังให้สมองลูกน้อย ช่วง1000 วันแรกที่สมองพัฒนาไวที่สุด!!
คุณพ่อคุณแม่หลายท่านอาจจะเคยได้ยิน 2 ศัพท์ใหม่ คุ้นหู “แอลฟา-แล็คตัลบูมิน” และ “ดีเอชเอ” สองสิ่งนี้มีส่วนช่วยในความฉลาดของลูกน้อยได้อย่างไร วันนี้เว็บไซต์เรียลพาเรนติ้ง นำข้อมูลโภชนาการที่สำคัญต่อความฉลาดของลูก (จากเจ้า 2 ตัวนี้ ) มาแนะนำให้อ่านกันค่ะ
เห็นเป็นยิ้มทารกแบบนี้ก็มีความหมายนะ
ยิ้มนี้ไม่ได้ว่างเปล่านะ เด็กแรกเกิดจะชอบยิ้ม บางคนยิ้มกว้างจนเห็นเหงือกแดง
ห้องของเจ้าตัวเล็ก
การดูแลเด็กอ่อนไม่ต้องใช้พื้นที่มาก ไม่ต้องเดินหรือวิ่งตามจนเหงื่อตกอย่างเด็กโต แต่ต้องอยู่ดูแลใกล้ชิดเพราะเราต้องทำให้เขาทุกอย่าง
ความทรงจำของลูกเบบี๋ในขวบปีแรกเป็นยังไงนะ?
เคยสงสัยไหมว่า ในขวบปีแรก ลูกของคุณจดจำอะไรได้บ้าง ลูกจำคุณได้หรือไม่ และขั้นตอนของพัฒนาการในแต่ละเดือนเป็นอย่างไร
5 วิธีสร้าง สายใยรัก กับทารกแรกคลอด
การสร้าง สายใยรัก สายสัมพันธ์แม่ลูกตั้งแต่แรกเกิดเป็นเรื่องสำคัญ กุมารแพทย์จึงแนะนำ 3 วิธีนี้!
เบื้องหลังความเละ คือการเรียนรู้
เมื่อใดที่เจ้าเตาะแตะเริ่มเดินได้คล่องเมื่อนั้นลูกน้อยน่ารักจะกลายเป็นตัวแสบทันที
11 กระบวนทึ่ง…เบบี๋ชวนคุย
ยิ้มช่วงแรกของทารกยังเป็นปฏิกิริยาตอบกลับอัตโนมัติต่อมาเมื่อเริ่มโตขึ้นรอยยิ้มก็จะมีความหมายมากขึ้นและมีอารมณ์ต่างๆเข้าไปเกี่ยวข้องเมื่อตอนเขาอายุได้ราว6-8 สัปดาห์ การยิ้มของทารก เป็นการบอกความพึงพอใจความรู้สึกสบายตัว
เบบี๋อยากกินเอง ทำได้จริงหรือ?
ข้าวตุ๋นกับผักบดและการป้อนอาจไม่ใช่คำจำกัดความของอาหารตามวัยมื้อแรกอีกต่อไป เด็กเพิ่งจะหัดกิน ฟันก็ยังไม่มี แถมไม่ต้องป้อน ให้วางอาหารที่หยิบกินเองแล้วปล่อยให้หยิบกินเอง เด็กที่ไหนจะกินได้ …จะเป็นไปได้อย่างไรกัน
ลูกไม่เคี้ยวข้าว กลืนอย่างเดียว ทำไงดี?
เมื่อลูกน้อยอายุครบ 6 เดือน คุณแม่มักเป็นกังวลห่วงว่าลูกจะรับประทานอาหารติดคอ บางคนจึงให้ลูกน้อยรับประทานแต่ของเหลว จนอาจทำให้ ลูกไม่เคี้ยวข้าว ในอนาคตได้
ผื่นแพ้ในลูกเล็ก
ลูกชายอายุได้ 10 เดือน คุณแม่กำลังสงสัยว่าเขาอาจจะแพ้อะไรสักอย่าง เพราะมีผื่นลักษณะคล้ายผื่นผิวแห้งขึ้นที่แก้มกับหน้าผากแต่ตามตัวและแขนขาไม่มี ตอนนี้คิดจะงดอาหารไว้ก่อน คุณหมอมีคำแนะนำเพิ่มเติมอะไรหรือไม่คะ
วัย 5 เดือนเริ่ม คาดเดา “ทิศทางการเคลื่อนที่”
นอกจากจะเริ่มสังเกต ทิศทางการเคลื่อนที่ของสิ่งรอบตัวแล้ว เด็กน้อยตัวกะเปี๊ยกวัย 20-21 สัปดาห์ (5 เดือน) ยังรู้จักเชื่อมโยงภาพการเคลื่อนไหวที่เห็นกับเสียงที่ได้ยินด้วย
“8 ลักษณะนิสัยทารก” ลูกเป็นเด็กแบบไหน? ต้องเลี้ยงให้ถูกทาง!
ลักษณะนิสัยทารก คุณพ่อคุณแม่ทราบหรือไม่ว่า ในเด็กวัยทารกก็มีบุคลิกลักษณะนิสัยด้วยเหมือนกัน ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เด็กทารกแต่ละคนที่ดูเผินๆ แล้วก็เป็นเด็กเล็กๆ ที่ต้องการการดูแลใจใส่เหมือนๆ กัน แต่ในความเหมือนนั้นกลับมีความแตกต่างกัน ทีมงาน Amarin Baby & Kids จะพาไปรู้จักกับ 8 บุคลิกลักษณะ ในเด็กทารก กันค่ะ
ดูแลเบบี๋รับซัมเมอร์
มาดูกันว่า การดูแลเบบี๋ในช่วงหน้าร้อนไม่ธรรมดาในยุคนี้ ควรนึกถึงเรื่องอะไรบ้าง
วัย 4 เดือนครึ่ง หนูเชื่อมโยงเสียงกับภาพได้แล้วนะ
ประสาทสัมผัสของลูกน้อยอายุ 18-19 สัปดาห์ เริ่มทำงานประสานสัมพันธ์กันแล้วนะ สังเกตได้ง่ายๆ ว่าเจ้าตัวน้อยจะออกอาการชอบและไม่ชอบต่อเสียงเพลง
เบบี๋ไม่อยากให้อุ้ม (แล้วนะแม่)
ลูกวัยนี้พยายามใช้ร่างกายทำอะไรๆ เองมากขึ้นด้วย และคุณจะรู้สึกได้ว่า บางครั้งลูกจะหงุดหงิดที่คุณช่วยทำให้ แต่แน่นอนว่า ลูกน้อยก็ยังต้องการให้คุณใส่ใจอยู่ดี ดังนั้นคุณไม่ควรรีบตอบสนองทุกครั้งที่เขาร้องหา
เบบี๋จะเริ่ม “มองตาม” เมื่อไหร่นะ?
ทารกวัยแรกเกิด-6 สัปดาห์ (1 เดือนครึ่ง) จะมองสิ่งรอบตัวโดยหันทั้งศีรษะ และชอบมองก็คือวัตถุที่มีสีสันสดใสหรือแสงจ้าๆ แต่พอถึงช่วงสัปดาห์ที่ 8-24 (2-6 เดือน) ทารกจะมองไปรอบๆ ห้องโดยกวาดตาจากซ้ายไปขวาและขยับศีรษะเล็กน้อย
วัย 5 เดือน หนูช่างสังเกตแล้วนะ
ลูกวัยนี้แยกแยะได้ทั้งระหว่างภาพที่จัดวางในแนวนอนกับแนวตั้ง ภาพที่มีสิ่งของ 2 อย่าง ภาพที่มีสิ่งของ 3 อย่างและภาพที่จัดวางในรูปแบบที่ต่างกัน
วัยใกล้ขวบ ชอบสำรวจ+เรียนรู้สิ่งรอบตัว ผ่านการเล่น
เมื่อลูกใกล้หนึ่งขวบ จะมีพัฒนาการที่โดดเด่นอย่างไรบ้างนะ มาสำรวจกันค่ะ!