ทารก 0-1 ปี
แหล่งรวบรวมความรู้ ทารก 0-1 ปี บทความ ด้านโภชนาการและพัฒนาการเด็ก ของทารกแรกเกิด 1 เดือนถึง 1 ปี ลูกจะเปลี่ยนไปยังไงบ้าง รวบรวมพัฒนาการทารกตั้งแต่แรกเกิดจนถึง 1 ขวบ
เบบี๋สะอึก อันตรายไหม? แก้อย่างไรดี?
ในเด็กเล็ก อาการสะอึกไม่ค่อยมีอะไรน่าเป็นห่วง แต่ถ้าเกิดเขาหงุดหงิดจนต้องร้องไห้ไปสะอึกไป จะปล่อยทิ้งไว้ก็น่าสงสารอยู่นะ เราจึงมีวิธีแก้ลูกสะอึกมาฝากค่ะ
จ๊ะ…เอ๋ !
จ๊ะเอ๋ จะเล่นกี่หนกี่รอบ เกมนี้ก็สามารถเรียกเสียงหัวเราะสดใสบอกอารมณ์พอใจสุดๆ ของเด็กๆ
ก้าวแรกของ พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก ฝึกลูกถือขวดนมเอง
สำหรับเด็กที่ทานนมจากขวดนม คุณพ่อคุณแม่สามารถฝึกการหยิบจับเพื่อฝึก พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก ได้จาก “ขวดนม” สิ่งของใกล้ตัวที่ลูกต้องใช้อยู่ทุกวันนั่นเองค่ะ
ปานแดง อันตรายกับลูกน้อยแค่ไหนกันนะ?
คุณแม่หลายคนคงเคยพบเห็นรอยแดงๆ อยู่ที่บริเวณหน้าผาก เปลือกตา ต้นคอ หรือศีรษะของลูกน้อย และมีความกังวลว่า เม็ดแดงๆ นูนๆ เล็กๆ นี้ จะเป็นอันตรายหรือไม่ และสงสัยว่าเป็น ปานแดง หรือสิ่งนี้จะเป็นอันตรายกว่านั้นหรือเปล่า จึงเกิดความกังวล และอยากให้ลูกน้อยหาย
9-11 เดือน เริ่มจับคู่เป็นแล้ว
ช่วงวัย 9-11 เดือน ลูกจะจับคู่บัวรดน้ำซึ่งใช้กับต้นไม้ที่ปลูกไว้ในบ้าน
เบบี๋ก็เล่นเป็นนะ
มารู้จักการเล่นกับเบบี๋เถอะ! คุณกับจะเขาผูกพันกันมากขึ้น และลูกน้อยจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งรอบตัวและอะไรต่อมิอะไรดีๆ อีกเพียบเลยล่ะ
10-11 เดือน ตาเริ่มมองตามผู้ใหญ่
ในช่วงวัย 10-11 เดือน ลูกจะเริ่มมองตามผู้ใหญ่ เพราะอะไรกันนะ แถมการมองตาม ยังทำให้คุณพ่อคุณแม่ช่วยเสริมพัฒนาการทางภาษาให้ลูกได้ด้วย ทำได้อย่างไร?
10 เดือน อยากได้อะไร ใช้ตัวช่วยทันที
การใช้เครื่องมือต่างๆเป็นตัวช่วย เป็นสัญญาณบ่งชี้ถึงพัฒนาการทางสติปัญญาขั้นสูง
9 เดือนแล้ว สมองเริ่มแยกแยะออก
เจ้าตัวน้อยวัย 9 เดือนกว่าจะอนุมานจากประสบการณ์ที่ผ่านมาและบอกได้ว่าสิ่งรอบตัว (ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ เสียง สัตว์หรือผู้คน) เข้าพวกกันหรือไม่ เพราะสมองจัดหมวดหมู่ได้แล้วค่ะ
ชวนพ่อแม่ ถอดรหัสสีหน้า-ท่าทางเบบี๋
เพราะลูกทารกยังพูด ยังบอกไม่ได้ ดังนั้นถ้าพ่อกับแม่ได้รู้ว่าหน้าตา ท่าทางแบบไหนแปลว่าลูกกำลังมีสุขหรือมีปัญหาอะไร จะทำให้คุณช่วยเหลือลูกน้อยได้ถูกจุดมากขึ้น
ยื่นมือช่วยลูกวัย 9 เดือนได้ แต่ต้องให้ “พอดี”
การสังเกตและช่วยเหลือในระดับที่เหมาะสม เป็นสะพานต่อให้ลูกทำด้วยตัวเองจนสำเร็จ ไม่ใช่พ่อแม่เข้าไปช่วยจนกลายเป็นตัวพ่อแม่ทำเอง เดี๋ยวลูกอดแสดงความสามารถ!
10 ความเชื่อแปลกๆ เกี่ยวกับลูกเบบี๋ที่แม่ควรรู้!
หลายต่อหลายบ้านกำลังเตรียมตัวต้อนรับสมาชิกน้อยๆ คนใหม่ คุณพ่อคุณแม่ป้ายแดงซึ่งอยู่ในช่วงพะวักพะวงคงได้ตัวช่วยเป็นคำบอกเล่าประเภทว่ากันว่า จากผู้มีประสบการณ์บ้าง ผู้หวังดีบ้าง ฟังแล้วก็น่าคิด
สิวในทารก สาเหตุและอาการที่ควรระวัง
สิวในทารก คุณแม่เคยสังเกตเห็นตุ่มหรือผื่นผุดเต็มหน้าลูกน้อยโดยไม่มีสาเหตุไหม? มันดูเหมือนสิวบวมแดงหรือเปล่า? เพราะถ้าใช่ แสดงว่าลูกน้อยกำลังเป็นสิวในทารก ทีมงาน Amarin Baby & Kids มีข้อมูลเกี่ยวกับ สิวในทารก พร้อมคำแนะนำที่ถูกต้องในการดูแลผิวลูกน้อยวัยทารกเมื่อเป็นสิว มาแนะนำกันค่ะ
หนาวนี้ระวัง! โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง อโตปิก เดอร์มาไททิส (ATOPIC DERMATITIS)
สำหรับผู้ที่มีผื่นแดงตามอาการข้างต้นนี้ อาจจะเป็นเพียงผื่นคันธรรมดา ผู้ที่มีโอกาสเป็นโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง คือ มีประวัติว่าคนในครอบครัวเคยเป็น และจะเป็นซ้ำๆ กันในบริเวณเดิมของผิวหนัง แสดงอาการปีละหลายครั้ง และถ้าเป็นตามแขนหรือขา จะขึ้นทั้งสองข้างพร้อมๆ กัน (ผื่นคันธรรมดาขึ้นเฉพาะที่)
ผิวแห้งแตก ช่วงหน้าหนาว แก้ได้
ผิวของเด็กบอบบางมาก การปล่อยให้ผิวหนังแห้งเพราะขาดน้ำและไขมันที่ป้องกันผิวลดลง จะส่งผลเสียแก่สุขภาพผิวของเด็กเป็นอย่างมาก
ระวัง! อย่าวางทารกนอนบนโซฟา
พ่อแม่ยังเข้าใจผิดด้วยว่าถ้าตัวเองไม่ได้หลับหรือคอยเฝ้า ก็ไม่ต้องกลัวว่าลูกจะประสบกับภาวะหยุดหายใจกะทันหัน
9 เดือน : ช่วงจดจำ & เลียนแบบ
9 เดือน คือช่วงแห่งการต่อยอดการเรียนรู้ ทั้งการเลียนแบบและสิ่งที่เรียกว่า “แม้มองไม่เห็น ก็รู้ว่าวัตถุนั้นยังคงอยู่” จะยิ่งสมบูรณ์แบบมากขึ้น
9 เดือน รู้แล้วว่าแม่มีอยู่จริงๆ
พอเขาอายุราว 9 เดือน ความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดนี้ก็จะพัฒนาไปอีกขั้น คือพอคุณใช้ผ้าเช็ดมือคลุมกุญแจไว้ทั้งพวง เขาก็จะเลิกผ้าเช็ดมือให้เห็นพวงกุญแจที่ซ่อนอยู่ แต่ถ้าเป็นเมื่อก่อน เขาก็จะไม่สนใจ เพราะการไม่เห็นอะไรเลยยังคงแปลว่าพวงกุญแจไม่ได้อยู่ตรงนั้นแล้ว