สุขภาพทารกและข้อควรระวัง
สุขภาพทารกและข้อควรระวัง REM Sleep ช่วง “การนอนของทารก” ที่ทำให้ลูกโตช้า ทารกตดบ่อย วิธีคำนวณปริมาณยาลดไข้เด็ก วัคซีนสำหรับทารก วัคซีนฟรี ทารกเป็นหวัด รวมถึงโรคเด็กที่ต้องระวัง
วิธีทำความสะอาด ก่อนเปลี่ยนผ้าอ้อมผืนใหม่
ความสะอาดของ “ตรงนั้น” ของเบบี๋เป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งยวดเลยทีเดียว เรามารู้เทคนิคการทำความสะอาดก่อนเปลี่ยนผ้าอ้อมใหม่ให้ลูกกันดีกว่าค่ะ
ลูกเบบี๋ร้อง เข้าไปอุ้ม หรือไม่อุ้มดีนะ
เคยอ่านหนังสือพบว่า การอุ้มลูกบ่อยๆ ในช่วง 3 เดือนแรกจะช่วยสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจระหว่างแม่และเด็ก แต่พ่อแม่ฝ่ายสามีติงว่าอาจทำให้ลูกติดมือไปจนโต
4 เทคนิคแสนง่าย ฝึกวินัยลูก เรื่องกิน + นอน เริ่มได้ตั้งแต่เบบี๋
ถ้าพ่อแม่ไม่ฝึกให้เขากินนอนเป็นเวลา เด็กจะคุ้นชินกับการทำตามความต้องการของตัวเอง การกินการนอนจึงเป็นวินัยเรื่องแรกที่คุณพ่อคุณแม่จะเสริมสร้างให้ลูกน้อยได้
หยุดความเชื่อที่ผิด บีบหัวนมลูก ตั้งแต่เล็ก อย่าทำ!
มีกระแสในโลกออนไลน์ที่ได้ยินกันมาเวลาอาบน้ำลูกสาว ให้เอามือบีบหัวนมลูก แถมยังให้บีบทุกวันตั้งแต่ยังเล็ก ด้วยความเชื่อที่ว่าจะทำให้หัวนมไม่บอด เมื่อโตขึ้นก็จะสามารถให้นมลูกได้ จริงหรือ?
อยู่ๆ ทารกก็ไม่ยอมกินนมแม่
ลูกชายกินนมแม่มาตลอดจนอายุ 6 เดือนแต่ช่วงนี้เขาไม่ยอมกินนมแม่เลยค่ะ กินแต่น้ำเยอะมาก จะเป็นอะไรไหม อยากให้ลูกกลับมากินนมเหมือนเดิมได้หรือไม่ ทำอย่างไรดีคะ
ลูกชอบเอาของเข้าปาก
ลูก 1 ขวบ 4 เดือนชอบหยิบของทุกอย่างเข้าปาก ควรแก้ไขอย่างไร
ลูกทารกกินนมมากเกินไปไหม
ลูก 4 เดือนครึ่ง กินนมแม่ล้วน และกินนมเก่งมาก ตอนกลางวันให้กินเกือบทุกชั่วโมง ส่วนกลางคืน ถ้าเขาร้องแม่ก็ตื่นมาให้ เริ่มสงสัยว่าเราให้นมลูกมากเกินไปไหม
เคยทำได้ แล้วลืม ‘พัฒนาการถดถอย’ หรือเปล่า?
เดือนที่แล้วลูกโบกมือบ๊ายบายตลอดเวลา แต่ตอนนี้กลับไม่ยอมทำเลย เหมือนลืมไปแล้วว่าทำอย่างไร แบบนี้พัฒนาการถดถอยรึเปล่าคะ?
เรียกชื่อแล้วลูกไม่ตอบรับ สัญญาณออทิสติกหรือแค่ติดหน้าจอ?
ลูกหนึ่งขวบ ไม่ยอมตอบรับเวลาเรียกชื่อ แต่ถ้าชวนว่า “มาดูนี่เร็ว!” กลับสนใจ มองตามตลอด ตอนนี้ลูกเดินได้ เรียก ป๊ะ ม๊ะ (พ่อแม่) ก็ได้ เลยสงสัยว่า ทำไมเวลาเรียกชื่อถึงไม่ยอมตอบล่ะคะ?
มือน้อยนี้…ที่หนูเลิฟ
Q: ลูกอายุ 6 เดือนดูจะสนใจมือตัวเองมากเป็นพิเศษ ชอบนั่งมองมือ กุมมือ บีบมือ หรือบางทีก็อมมือทั้งมือเลยค่ะ ทำไมชอบมือขนาดนี้ก็ไม่รู้ “วัย 4-6 เดือนเป็นวัยที่เริ่มสนใจร่างกายของตัวเองและสิ่งแวดล้อมรอบข้าง เด็กวัยนี้ชอบมองมือ มองเท้า และนิ้ว ไม่ถือว่าผิดปกติค่ะ เขากำลังเรียนรู้ว่า ฉันมีมือ มีเท้า มีนิ้ว รวมถึงเรียนรู้รสชาติ และผิวสัมผัสวัสดุต่างๆ ทั้งผิวตัวเองและพื้นผิวของสิ่งรอบตัว ดังนั้นถ้าลูกจะอมมือหรือดูดมือบ้างก็ไม่ต้องกังวลค่ะ อย่างไรก็ตาม ถ้าลูกอมมือบ่อยมากหรืออมมือตลอดเวลา อาจเป็นสัญญาณว่า เจ้าตัวน้อยถูกปล่อยปละละเลยให้อยู่คนเดียวมากเกินไปจนรู้สึกเหงา จึงต้องกระตุ้นตัวเอง หากทำบ่อยๆ เข้า จะกลายเป็นนิสัยที่เลิกยาก คุณแม่ควรหาเวลาเล่นกับลูกบ่อยๆ และหาของเล่นที่สะอาดปลอดภัย สามารถเอาเข้าปากได้มาเบี่ยงเบนความสนใจของลูกบ้างค่ะ บทความโดย : พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ กุมารแพทย์ ผู้เชี่ยวชาญด้านทารกแรกเกิด ภาพ : กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง
ทำไงดี ฟันเบบี๋ไม่ยอมขึ้น!
ลูกสาวอายุ 11 เดือน กินนมแม่ล้วน ร่างกายแข็งแรง เดินได้ตั้งแต่ 8 เดือนกว่า แต่ว่าฟันยังไม่ขึ้นสักที ผิดปกติหรือเปล่าคะเนี่ย?
4 ข้อข้องใจ เรื่องฟันขึ้น
สารพันคำถามที่พ่อแม่อยากรู้เรื่องฟันของเบบี๋ ทำไมฟันขึ้นช้า ถ้าลูกขากรรไกรเล็กล่ะ?
ไม่อยากให้ใครสัมผัส ลูกแรกเกิด พูดอย่างไรไม่เสียน้ำใจกัน
ช่วงที่ลูกเกิดใหม่เป็นช่วงที่คุณพ่อคุณแม่ต้องรับแขกมากมาย แต่ถ้าคนที่มาเยี่ยมอยากสัมผัสตัวเจ้าตัวน้อย อาจจะเพิ่มความเสี่ยงติดเชื้อโรคต่างๆ จะปฏิเสธอย่างไรดีล่ะ?
ร้องไห้แต่ไม่มีน้ำตา..อันตรายหรือไม่? ระวังก่อนติดเชื้อ หรือ เกิดภาวะขาดน้ำ
ส่วนสาเหตุที่ลูกร้องไห้โดยไม่มีน้ำตา หากตั้งแต่เกิด คุณแม่ไม่เคยเห็นน้ำตาของลูกเลย อาจเป็นเพราะต่อมน้ำตายังทำงานได้ไม่เต็มที่ ส่วนใหญ่เมื่อโตแล้วจะดีขึ้น แต่ถ้าลูกเคยร้องไห้มีน้ำตามาก่อน การร้องไห้ไม่มีน้ำตา
10 เคล็ดลับควรทำเพื่อลูก ลดโอกาส “ทารกป่วย”
พ่อแม่ทุกคนไม่อยากให้ลูกทารกป่วย ซึ่งถึงจะเป็นไปไม่ได้ แต่หากรู้วิธีลดโอกาสการป่วยหนักของลูก คุณก็รับมือกับป่วยแรกของลูกน้อยได้อย่างมั่นใจ
6 โรคฮิต ที่เบบี๋มักเป็น คุณแม่มือใหม่ต้องรู้ไว้!
โรคฮิตของลูกน้อย 6 โรคที่มักเป็น คุณแม่มือใหม่ต้องรู้ไว้ เมื่อเด็กเจ็บป่วย สิ่งสำคัญพ่อแม่จะทราบได้ก็คือ “อาการของโรค” ซึ่งเป็นปฏิกิริยาที่ร่างกายแสดงออกมา
ปัญหา และการดูแล “เด็กคลอดก่อนกำหนด”
เด็กคลอดก่อนกำหนด เป็นภาวะที่คุณพ่อ คุณแม่ทุกคนไม่อยากพบเจอ ถ้าคุณแม่ตั้งครรภ์ และคลอดลูกน้อยก่อน 37 สัปดาห์ นั่นถือว่าคุณแม่มีภาวะคลอดก่อนกำหนด ซึ่งมีผลต่อสุขภาพลูกน้อย ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว และอาจทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ ตามมาอีกด้วย
ใช้ “เก้าอี้กินข้าว” ให้ปลอดภัย
คุณแม่คนไหนกำลังให้ลูกฝึกหัดนั่งเก้าอี้กินข้าว เรามีคำแนะนำการใช้เก้าอี้อย่างปลอดภัยมาฝากกันค่ะ