เล่นกับลูก
4 ข้อควรคำนึง เล่นกับลูก ให้สนุก-ปลอดภัย ช่วยลูกมีพัฒนาการที่ดีได้
เล่นกับลูก นอกจากพ่อแม่ต้องคิดว่าจะเล่นแบบไหน ทำยังไงให้สนุกแล้ว เรื่องความปลอดภัยก็สำคัญ ทั้งความปลอดภัยกับลูกเอง และผู้ที่ร่วมเล่นด้วย!
หมอแนะ! วิธีเล่นกับลูก วัยทารก สร้าง EQ ดี IQ เริ่ด พ่อแม่ไม่ต้องเก่งก็ทำได้!
หมอประเสริฐแนะ! วิธีเล่นกับลูก วัยทารก เริ่มได้ตั้งแต่แรกเกิด ถึง 6 เดือน เสริมความฉลาด กระตุ้นพัฒนาการ แบบง่าย ๆ พ่อแม่ไม่ต้องเก่งก็ทำได้!
ทำไมพ่อแม่ต้อง เล่นสนุกกับลูก ?
ผลการวิจัยมากมายชี้ชัดไปในทางเดียวกันว่า การเล่นสำหรับเด็กนั้นมีประโยชน์หลายอย่าง แต่ถ้าจะให้ดียิ่งขึ้น คุณพ่อคุณแม่ควรลงไป เล่นสนุกกับลูก ด้วย
ปล่อยให้ “เด็กเบื่อ” มีประโยชน์กว่าที่คิด!!
รู้หรือไม่? ว่าการปล่อยให้ลูกได้เล่นกับตัวเอง ปล่อยให้ เด็กเบื่อ ซะบ้าง ทำให้ลูกได้ ฝึกฝน สร้างสรรค์ และมีพัฒนาการที่ดีได้!! ปล่อยให้ “เด็กเบื่อ” มีประโยชน์กว่าที่คิด!! ในช่วงปิดเทอม ลูกต้องอยู่บ้านทั้งวัน คุณพ่อคุณแม่มักจะกังวลว่าลูกจะเบื่อ ไม่มีอะไรทำ จึงพยายามหากิจกรรมให้ลูก ไม่ว่าจะเป็น การให้ลูกลงเรียนกวดวิชาต่าง ๆ หรือจะเรียนเสริมในสิ่งที่ลูกดูเหมือนจะชอบ หรือ พ่อแม่บางคนอาจจะพยายามหากิจกรรมเพื่อเล่นกับลูกตลอดเวลา แต่อย่างที่รู้ ๆ กันอยู่ว่ามันเป็นไปไม่ได้เลยที่คุณพ่อคุณแม่จะสรรหากิจกรรมมาเล่นกับลูกได้ทั้งวัน ไหนจะติดงาน ไหนจะงานบ้าน และในบางครั้งคุณพ่อคุณแม่เองก็ต้องการเวลาส่วนตัวและเวลาพักบ้างเหมือน ๆ กัน เมื่อลูกบ่นว่าเบื่อ คุณพ่อคุณแม่ก็มักจะแอบคิดว่าทำไมลูกเราถึงเล่นเองไม่เป็นเลย ทีมแม่ ABK อยากให้คุณพ่อคุณแม่ลองถอยออกมาดูภาพรวมกันสักนิดค่ะว่าทำไมลูกเราถึงเล่นเองไม่เป็น ทำไมจะต้องให้คุณพ่อคุณแม่เล่นด้วยตลอดเวลา? นั่นเป็นเพราะคุณพ่อคุณแม่ไม่เคยปล่อยให้ลูกเบื่อ หรือลองเล่นกับตัวเองดูบ้างนั่นเองค่ะ ไม่ได้หมายความว่าการเล่นกับลูกเป็นสิ่งที่ผิดนะคะ ยังสนับสนุนให้คุณพ่อคุณแม่เล่นกับลูกค่ะ เพียงแต่ไม่จำเป็นต้องเล่นด้วยทั้งวัน คุณพ่อคุณแม่ควรปล่อยให้ เด็กเบื่อ ดูบ้าง เพื่อให้เค้าได้มีเวลาในการค้นหาตัวเอง ดังนั้น มาดูประโยชน์ของการปล่อยให้ เด็กเบื่อ ดูบ้างดีกว่าค่ะ ทำไมเด็กถึงเบื่อ? เพราะเทคโนโลยีในปัจจุบัน และกิจกรรมเสริมที่ใส่ให้เด็กมากเกินไป (เพื่อที่เด็กจะได้ไม่เบื่อ) ทำให้เด็ก […]
9 กิจกรรมเล่นกับลูกวัยอนุบาล เพิ่มทักษะ เสริมพัฒนาการรอบด้าน
เด็กวัย 5-6 ขวบขึ้นไป กำลังอยู่ในช่วงวัยเรียนรู้ สนุกกับการเรียน ชอบเล่นอะไรที่สนุกสนาน ฉะนั้นกิจกรรมสำหรับเด็ก ในช่วงวัยนี้ ควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยเพิ่มทักษะ และส่งเสริมพัฒนาการการเรียนรู้ วันนี้เรามี 9 กิจกรรมเด็กวัยอนุบาล ที่คุณพ่อคุณแม่สามารถชวนลูกเล่นสนุกที่บ้าน โดยเฉพาะในช่วงที่ต้องปิดเทอมนานๆ มาฝากค่ะ
14 วิธีเล่นกับลูก กระตุ้นพัฒนาการตามวัย ให้ฉลาด อารมณ์ดี ตั้งแต่เบบี๋
เพราะการเล่น เป็นสิ่งจำเป็นที่จะช่วยกระตุ้นพัฒนาการให้ลูกน้อย ยิ่งมีโอกาสได้เล่นมากเท่าไหร่ ก็จะยิ่งได้รับการพัฒนาการมากขึ้นเท่านั้น
ประโยชน์ของการเล่น “จ๊ะเอ๋” ที่พ่อแม่คาดไม่ถึง
เชื่อว่าพ่อแม่ทุกคนเคยเล่น “จ๊ะเอ๋” กับลูกมาแล้ว รู้หรือไม่ว่านอกจากจะทำให้ลูกสนุกแล้ว การเล่นจ๊ะเอ๋ยังมีประโยชน์ต่อพัฒนาการของเด็กอีกด้วย
8 วิธีเพื่อพ่อ เล่นกับลูกอย่างไรให้ฉลาด !?
เล่นกับลูกอย่างไรให้ฉลาด !? เพราะการเลี้ยงลูก เล่นกับลูก ก็ทำให้ลูกฉลาดได้ โดยเฉพาะเมื่อลูกได้เล่นหรือได้รับความรักและการเลี้ยงดูจาก “พ่อ”
เล่นทายปัญหากับลูก เสริมทักษะ สติปัญญารอบด้าน
หากคุณแม่อยากเสริมทักษะลูก การ เล่นทายปัญหา กับลูกนั้น สามารถช่วยคุณพ่อคุณแม่ได้!
งานยุ่ง จนไม่มีเวลาเล่นกับลูก จะพูดกับลูกอย่างไรไม่ให้ลูกเสียใจ
หากคุณพ่อคุณแม่ต่างวุ่นวายกับการงานด้วยความจำเป็น ไม่มีเวลาเล่นกับลูก มากเท่าที่ใจอยากทำ บางครั้งก็ตอบลูกด้วยความเหนื่อย ความรำคาญ จนรู้สึกผิด จะแก้ปัญหานี้อย่างไรดี?
เล่นกับลูก ช่วยให้ทารกเรียนรู้ พ่อแม่ไม่ต้องเก่งก็ทำได้!
เป็นพ่อแม่มือใหม่ค่ะ ลูกอายุได้ 4-5 เดือน เราตกลงกันให้แม่เลี้ยงลูกเป็นหลัก ปัญหาคือ เวลาอยู่กับลูกเล็กๆ ทั้งวัน ไม่รู้จะทำอะไรกับลูกค่ะ มีแต่คุยด้วยและอุ้มไปเดินเล่นแถวบ้านบ้าง เด็กทารกอยู่แต่ในบ้านจะดีกับเขาหรือเปล่าคะ อยากมีส่วนช่วยให้ลูกเรียนรู้ เด็กเล็กขนาดนี้เขาจะเรียนรู้อะไรได้บ้าง
พ่อแม่คือคนสำคัญที่ส่งเสริมการเล่นให้ลูก
การเล่นคือเครื่องมือการเรียนรู้ชิ้นแรกของมนุษย์ เด็กได้เล่นหมายถึงเขาได้สำรวจโลก เมื่อโตขึ้นโลกกว้างมากขึ้น เด็กได้เรียนรู้ไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด
กิจกรรมการเล่นสร้างความสัมพันธ์กับลูกตอนอยู่ในรถ
ปัญหารถติดเป็นปัญหาหนึ่งโดยเฉพาะคนกรุงเทพฯซึ่งไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ คุณพ่อ คุณแม่และลูกอาจรู้สึกเบื่อในขณะที่ต้องนั่งติดอยู่ในรถนานๆ Amarin Baby & Kids จึงมีกิจกรรมที่คุณพ่อคุณแม่สามารถนำมาเล่นกับลูกได้ในขณะที่รถติด หรือจะไว้เล่นขณะที่กำลังเดินทางไปเที่ยวต่างจังหวัดในวันหยุดก็ได้
หมอแนะเทคนิค “เล่นกับลูก” ง่ายๆ กระตุ้นพัฒนาการ 4 ด้าน
หากคุณเป็นพ่อแม่มือใหม่ และไม่รู้จะ “เล่นกับลูก” อย่างไรดี เรามีวิธีเล่นกับทารกง่ายๆ จาก พญ.สุธีรา เอื้อไพโรจน์กิจ ผู้เชี่ยวชาญด้านทารกแรกเกิดมาฝากค่ะ
วิธีเล่นสนุกสร้างเสียงหัวเราะ เสริมพัฒนาการให้กับลูกน้อยวัย 0-1 ปี
แท้จริงแล้วหนูๆ วัยเบบี๋ก็มีงานต้องรับผิดชอบนะคะ ซึ่งงานสำหรับเด็กๆ คือ “การเล่น” สิ่งที่พ่อแม่ต้องทำก็คือหาวิธีเล่นสนุกเพื่อช่วยเสริมพัฒนาการให้กับลูกน้อย
9 ไอเดีย DIY เล่นสนุกกับลูกรับวาเลนไทน์
งานของเด็กคือการเล่น และยิ่งเล่นก็ยิ่งได้เรียนรู้ ซึ่งคุณพ่อคุณแม่คือเพื่อนเล่นที่ดีที่สุดของเด็ก! การเล่นกับลูกนอกจากจะทำให้ลูกได้รับความสนุก ต่อยอดความคิดในสมอง และได้ซึมซับความผูกพันภายในครอบครัวแล้ว ยังทำให้คุณพ่อคุณแม่ได้รับรู้ถึงพัฒนาการในหลายๆ ด้านของลูกด้วย อีกทั้งยังเป็นการใช้เวลาว่างอย่างมีคุณภาพ วันนี้ Amarin ฺBaby & Kids มีไอเดียงาน DIY สุดเก๋ที่ทำง่าย รับรองว่าหากชวนเด็กๆ มาเล่นสนุกกับกิจกรรมเหล่านี้เมื่อไร เจ้าตัวน้อยจะต้องวิ่งมานั่งรอคุณพ่อคุณแม่เตรียมอุปกรณ์กันอย่างใจจดจ่อเลยทีเดียว และยังสามารถให้ลูกนำสิ่งประดิษฐ์เหล่านี้ไปมอบเป็นของขวัญให้กับผู้อื่นเนื่องในโอกาสวันวาเลนไทน์ได้ด้วยเช่นกัน 1 ผีเสื้ออมยิ้ม ตัดกระดาษสีให้เป็นรูปปีกผีเสื้อ แล้วทำช่องเล็กๆ ไว้ตรงกลาง ให้ขนาดพอดีกับก้านอมยิ้ม จากนั้นก็นำก้านอมยิ้มมาเสียบไว้ตรงกลาง ตกแต่งปีกให้สวยงาม ติดตาผีเสื้อ หรือจะใช้ปากกาเมจิกวาดเป็นตาก็ได้ 2. ส่งอมยิ้มผ่านภาพถ่าย เพียงให้เด็กๆ ถ่ายภาพในลักษณะกำมือชูออกมา หรือจะหาจากภาพที่คุณพ่อคุณแม่มีอยู่แล้ว จากนั้นก็นำภาพมาเจาะรูตรงบริเวณที่เป็นมือ แล้วนำก้านอมยิ้มไปเสียบไว้ 3. ดินสอหัวใจ ใช้ก้านลวดกำมะหยี่พันที่ปลายดินสอแล้วดัดให้เป็นรูปหัวใจตามภาพ หรือจะดัดให้เป็นตัวอักษรย่อของชื่อลูกก็ได้ สามารถพันกับแท่งสีไม้หรือสีเทียนก็ได้เช่นกัน 4. ปั๊มมือลงหัวใจ วาดรูปหัวใจลงบนกระดาษ หรือจะเขียนข้อความน่ารักๆ ต่อกันยาวๆ ให้เป็นรูปหัวใจก็ได้ จากนั้นก็ให้ลูกจุ่มมือลงบนสีแล้วก็ปั๊มลงบนกระดาษ รับรองว่าเจ้าตัวเล็กจะขอปั๊มไม่หยุด […]
ลูก 3-5 ขวบเล่นไม่เหนื่อย แต่พ่อแม่ไม่ไหว! ทำอย่างไรดี
เพราะเด็กวัยนี้มีพลังล้นมากเหลือเกิน คุณพ่อคุณแม่เล่นด้วยมาครึ่งวันก็แล้ว ยังไม่มีทีท่าจะหยุดเล่นสักที แต่จะบังคับให้เลิกเล่นก็ไม่ดีกับลูกสักเท่าไร เรามีคำแนะนำค่ะ!
ใกล้ชิดลูก เสริมพัฒนาการวัย 1-3 ปี
เมื่อลูกย่างเข้าวัย 1-3 ปี พ่อแม่อาจจะใกล้ชิดกับเขาน้อยลงเพราะลูกเริ่มเดินได้คล่อง แต่เด็กวัยนี้ก็ยังต้องการความใกล้ชิดและเอาใจใส่จากพ่อแม่