พ่อแม่ทะเลาะกันต่อหน้าลูก – AMARIN Baby And Kids – เพื่อลูกฉลาดและมีความสุข

หมอเตือน! พ่อแม่ทะเลาะกัน “ต่อหน้าลูก” เสี่ยงลูกพัฒนาการถดถอย สับสนทางเพศ

สามีภรรยาไม่มีปากเสียงกันบ้างเป็นเรื่องแปลก..แต่จะเห็นว่าที่ พ่อแม่ทะเลาะกัน หรือคิดว่าหากมีปากเสียงกันเป็นเรื่องธรรมดา และเด็ก ๆ ควรยอมรับได้นั้น เป็นวิธีคิดที่ผิด

จิตแพทย์ตอบ “ พ่อแม่ทะเลาะกัน ” ลูกฝังใจหรือไม่?

จิตแพทย์ดังตอบคำถาม! ลูกจะฝังใจหรือไม่ ถ้าหาก “พ่อแม่ทะเลาะกัน” ต่อหน้าลูก!!

เตือน!! พ่อแม่ทะเลาะกันต่อหน้าลูก กระทบพัฒนาการสมองของลูกน้อย

ครอบครัวใดกำลังเผชิญปัญหา พ่อแม่ทะเลาะกันต่อหน้าลูก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาหลังคลอด ที่ทุกๆ อย่างเปลี่ยนไป ทั้งสภาพจิตใจ ความเหน็ดเหนื่อย ความไม่เข้าใจกันของคุณแม่-คุณพ่อ เหล่านี้ล้วนส่งผลโดยตรงต่อการพัฒนาของสมองลูกน้อย มีงานวิจัยจากสหรัฐอเมริกาชิ้นหนึ่งชี้ว่า สมองของเด็กทารก “เปิดรับ” และมีการจดจำเสียงแห่งความโกรธเกรี้ยวของพ่อแม่ สิ่งแวดล้อม เอาไว้ทั้งหมด แม้ว่าเด็กๆ จะกำลังนอนหลับอยู่ก็ตาม!! พ่อแม่ทะเลาะกันต่อหน้าลูก กระทบพัฒนาการสมองของลูกน้อย การศึกษาชิ้นนี้เป็นของมหาวิทยาลัยโอเรกอน ซึ่งนักวิจัยได้ใช้เครื่อง MRI ทำการสแกนสมองของเด็กทารกจำนวน 20 คนในระหว่างนอนหลับอยู่ภายในเครื่อง MRI โดยนักวิจัยพบว่า สมองของเด็กทารกเหล่านี้มีการตอบสนองต่อเสียงต่างๆ รวมถึงเสียงของความสุข เสียงของความโกรธเกรี้ยวด้วย ทั้งนี้ นักวิจัยพบว่า เด็กทารกที่อาศัยอยู่ในบ้านที่มีความขัดแย้งสูง สมองส่วนที่เชื่อมโยงกับความเครียด และอารมณ์ของเด็กกลุ่มนี้มีการตอบสนองต่อเสียงของความโกรธอย่างเห็นได้ชัด ที่เป็นเช่นนี้ เพราะสมองของเด็กทารกแรกคลอดนั้นกำลังเปิดรับทุกสิ่งทุกอย่าง ซึ่งหากพ่อแม่ของพวกเขาเกิดโต้เถียงกันในขณะที่สมองกำลังพัฒนาอย่างรวดเร็ว ก็อาจทำให้ลูกรักเสี่ยงต่อการมีปัญหาทางพัฒนาการ โดยเฉพาะอย่างยิ่งทารกที่ถูกทอดทิ้ง หรือถูกล่วงละเมิด ขณะที่การทดลองก่อนหน้านี้ ซึ่งศึกษาในสัตว์ก็พบว่า มีผลกระทบต่อสมองเช่นเดียวกัน นอกจากนั้น ยังมีงานวิจัยที่ชี้ว่า ความเครียด และความโกรธยังอาจส่งถึงทารกได้ตั้งแต่ในครรภ์อีกด้วย โดยนักวิจัยพบว่า แม่ที่ตั้งครรภ์สามารถส่งผ่านความเครียดไปสู่ทารกน้อยได้ผ่านรกนั่นเอง…และอาจนำไปสู่การอธิบายถึงความเชื่อมโยงระหว่างความเครียดระหว่างตั้งครรภ์ของแม่กับภาวะผิดปกติที่เกิดกับทารกน้อย เช่น ภาวะออทิสซึม ซึ่งเป็นปัญหาที่พบได้มากขึ้นในปัจจุบันด้วยนั่นเอง อ่านต่อ >> “เด็กที่มีปัญหาพ่อแม่ทะเลาะกันมีลักษณะอย่างไร?” คลิกหน้า […]

keyboard_arrow_up