- Page 2 of 5

ตั้งครรภ์ 17-18 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 17-18 สัปดาห์ เป็นช่วงที่คุณแม่จะมีความรู้สึกที่ดีที่สุดค่ะ เพราะลูกน้อยจะเติบโตดิ้นแรงจนคุณแม่รู้สึกได้แล้ว

ตั้งครรภ์ 15-16 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

เข้าสู่การตั้งครรภ์ไตรมาสที่ 2 กันแล้ว พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 15-16 สัปดาห์ ของคุณแม่ท้องจะเป็นอย่างไร และลูกน้อยในครรภ์จะมีพัฒนาการดีแค่ไหนกันแล้ว

ตั้งครรภ์ 13-14 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

มาถึงสัปดาห์สุดท้ายของไตรมาสแรกกันแล้ว ซึ่ง พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 13-14 สัปดาห์นี้ คุณแม่จะมีอาการแพ้ท้องลดลง และควรใส่ใจเรื่องโภชนาการ น้ำหนักให้มากขึ้น

ตั้งครรภ์ 11-12 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

คุณแม่จะรู้ว่าท้องแน่นอนแล้ว เพราะพัฒนาการ การตั้งครรภ์ 11-12 สัปดาห์ จะทำให้คุณแม่มีอาการต่างๆ ตามมามากมาย และลูกน้อยในครรภ์เองก็เติบโตได้เร็วยิ่งขึ้น

ตั้งครรภ์ 9-10 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 9-10 สัปดาห์ของแม่ท้องจะมีการเปลี่ยนแปลงที่สังเกตได้มาก ทำให้คุณแม่แพ้ท้อง ร่างกายเปลี่ยนแปลง และต้องระวังหลายๆ อย่าง

ตั้งครรภ์ 7-8 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 7-8 สัปดาห์ ของคุณแม่มีการเปลี่ยนแปลงอะไรบ้าง และลูกน้อยในครรภ์จะเติบโตมากขนาดไหนแล้วนะ มาดูกันเลยค่ะ

ตั้งครรภ์ 3-4 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์

เข้าสู่สัปดาห์ที่ 3 แล้ว หากพัฒนาการ การตั้งครรภ์ในสัปดาห์ก่อน ไข่และสเปิร์มมาเจอกัน และมีตัวอ่อนเป็นลูกน้อยเรียบร้อยแล้ว ก็เริ่มเข้าสู่การฝังตัวในมดลูก

พัฒนาการ ลูก 1 เดือน – 5 ปี ตรงตามวัยแค่ไหน?

พัฒนาการ ในช่วงวัยเด็ก เป็นช่วงเวลาที่สำคัญที่สุดในชีวิต การเฝ้าติดตาม และคอยสังเกตการเจริญเติบโตของลูกน้อยจึงเป็นสิ่งสำคัญ

การดูแลลูกในครรภ์ ตั้งแต่ไตรมาส 1 – 3 ทุกวินาทีคือก้าวสำคัญ

ตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ ไปจนถึง 3 ขวบ หรือประมาณ 1,365 วัน สมองของลูกจะมีการเจริญเติบโตสูงสุดถึง 80% คุณแม่คือคนสำคัญที่จะช่วยให้ลูกน้อยมีพัฒนาการในด้านต่างๆ รวมถึงโภชนาการที่ดีซึ่งส่งผลต่อลูกน้อย การเริ่มต้นด้วย การดูแลลูกในครรภ์ ทำให้ลูกน้อยมีสมาธิ มีทักษะการแก้ปัญหา พัฒนาสายตาการมองเห็น มีสติปัญญา และการสื่อสารที่ดี ดูแลลูกน้อยให้ครบ 1,365 วันแรกของชีวิตจึงเป็นสิ่งสำคัญ

กิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็ก เพื่ออนาคตที่ดีของลูกน้อย

การจัดกิจกรรมพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมีความสำคัญต่อการส่งเสริมพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคมและสติ ปัญญาของเด็กปฐมวัย ซึ่งสามารถอธิบายถึงประโยชน์ที่มีต่อเด็กดังนี้

โต๊ะเขียนหนังสือสำหรับเด็ก อันตรายกว่าที่คิด

คุณพ่อ คุณแม่คงอาจจะยังไม่รู้ว่าเฟอร์นิเจอร์อย่าง โต๊ะเขียนหนังสือสำหรับเด็ก เป็นจุดเสี่ยงที่มีค่าสารตะกั่วสูงเกินมาตรฐาน มักส่งผลและทำร้ายสุขภาพของลูกน้อยได้ โดยเฉพาะสารตะกั่วที่อยู่ในโรงเรียน หรือที่บ้าน เพราะมีรูปพยัญชนะ และตัวเลขต่างๆ ให้เด็กๆ ได้จดจำ และเรียนรู้

การเติบโตและพัฒนาการของลูกน้อย ช่วงอายุแรกเกิด – 5 ปี

ตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุ 5 ปี ลูกจะเติบโตอย่างรวดเร็วมาก พ่อแม่ควรดูการเปลี่ยนแปลงของน้ำหนัก ส่วนสูง และเส้นรอบศีรษะของลูก ว่าเพิ่มขึ้นตามวัยหรือไม่ ถ้าพบว่าบกพร่องจะได้ดูแลแก้ไขได้ทันท่วงที

กระจก … ช่วยกระตุ้นพัฒนาการสมองลูกน้อยได้!

คุณพ่อคุณแม่อาจเคยได้ยินคำสอนโบราณมาบ้างว่า “อย่าให้ลูกเล็กเด็กแดงส่องกระจก เดี๋ยวฟันจะไม่ขึ้น” ซึ่งคำกล่าวนี้เป็นเพียงความเชื่อที่เกือบจะเลือนหายไปแล้วเลยทีเดียว เพราะความเป็นจริงนั้นไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกันแม้แต่น้อย อีกทั้งคุณแม่สมัยใหม่กลับค้นพบว่า “กระจกเป็นของเล่นชิ้นโปรดของลูกและช่วยกระตุ้นพัฒนาการของลูกได้เป็นอย่างดีอีกด้วย” กระจก นับเป็นเครื่องมือกระตุ้นพัฒนาการที่ไม่ต้องลงทุนสูงเพราะทุกบ้านมีกระจกกันอยู่แล้ว สำหรับกระจกแบบพกพา ต้องดูแลอย่างใกล้ชิดนะคะ เด็กๆอาจเล่นจนกระจกแตกและเกิดบาดแผลได้ โดยปกติทั่วไปแล้ว ลูกน้อยๆ ของคุณแม่จะชอบส่องกระจกกันแทบทุกคน เขาจะรู้สึกตื่นเต้น ประหลาดใจกับการได้เห็นภาพที่เคลื่อนไหวได้ตลอดเวลา ไม่ใช่เพราะเขาชื่นชมความน่ารักของตัวเองหรอก เพราะเด็กทารกตัวเล็กๆ จะยังไม่รู้ว่า เด็กที่เคลื่อนไหวอยู่ในกระจกนั้นที่แท้เป็นตัวเขานั่นเอง  ดร. ไดแอน เบลส์ ผู้เชี่ยวชาญด้านพัฒนาการ มหาวิทยาลัยจอร์เจียในเอเธนส์ บอกว่า เวลาเห็นตัวเองในกระจกเงา ทุกๆอย่างที่เจ้าตัวน้อยทำจะได้รับการตอบสนองในทันที เมื่อเขาเคลื่อนไหวคนในกระจกก็เคลื่อนไหวเหมือนกัน เป็นการถูกกระตุ้นให้ตื่นเต้นกับการเห็นภาพเคลื่อนไหวที่เปลี่ยนแปลงได้ตลอดเวลา ช่วงเดือนแรกๆ ลูกน้อยจะยังไม่รู้ว่าสิ่งที่เห็นอยู่ในกระจกที่แท้เป็นตัวเขาเอง จนอายุสัก 3 เดือนเขาจะเริ่มรู้ความแตกต่างระหว่างภาพของเด็กที่อยู่ในกระจกเงากับเด็กจริงๆ  มีการวิจัยชิ้นหนึ่ง ให้เด็กทารกวัย 3 เดือนกลุ่มหนึ่งมองดูใบหน้าของเด็กจริงๆ ที่มีอายุไล่เลี่ยกัน และจากนั้นให้มองดูตัวเองในกระจกเงา ทำอย่างนี้สลับกันไปมา ผลการทดลองพบว่า เด็กส่วนใหญ่จะมองใบหน้าตัวเองในกระจกเงานานกว่าจ้องมองใบหน้าจริงๆ ของเพื่อน ซึ่งแสดงว่าเด็กน้อยอายุเพียงไม่กี่เดือนรู้ถึงความแตกต่างระหว่างหน้าตัวเองและหน้าของเพื่อน ซึ่งปกติแล้วเด็กวัย 4 – 6 เดือนพัฒนาการด้านการมองเห็นจะเริ่มชัดเจนเกือบๆ เท่าผู้ใหญ่แล้ว เด็กวัยนี้จึงเริ่มสนใจ จ้องมองสิ่งแวดล้อมด้านข้าง การให้ลูกส่องกระจกในช่วงวัยดังกล่าว […]

สุดยอดภาพถ่ายพัฒนาการของทารกในครรภ์ “ตั้งแต่ปฏิสนธิจนกระทั่งก่อนคลอด”

การตั้งครรภ์โดยปกติจะมีระยะเวลา 9 เดือน หรือ ประมาณ 42 สัปดาห์ นับจากวันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้ายโดยเฉลี่ยคือ 40 สัปดาห์ ช่วงเวลานี้เป็นระยะที่คุณแม่ตั้งครรภ์และทารกใช้เวลาอยู่ด้วยกันและเป็นส่วนหนึ่งของกันและกัน ซึ่งหลังการปฏิสนธิแล้ว พัฒนาการด้านต่างๆของลูกในครรภ์คุณแม่เป็นไปอย่างไรบ้าง เรามีภาพถ่ายเจาะลึกให้ดูกับแบบชัดๆ ค่ะ และภาพต่อไปนี้คือผลงานของช่างภาพชาวสวิสที่ชื่อว่า Lennart Nilsson ซึ่งเขาใช้เวลามากถึง 10 ปีในการสร้างผลงานภาพถ่ายชิ้นนี้ โดยการใช้กล้องส่องภายใน และทำการถ่ายรูปการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับทารกในร่างกายของผู้หญิงที่กำลังตั้งครรภ์ในแต่ละสัปดาห์ เพื่อดูพัฒนาการและความเปลี่ยนแปลงที่น่าอัศจรรย์ของทารก…จะเป็นอย่างไรไปดูกันเลยค่ะ สเปิร์มวิ่งไปตามท่อนำไข่   จุดหมายปลายทางคือเซลล์ไข่   สเปิร์มสองตัวเจาะเซลล์ไข่   ผู้ชนะคือสเปิร์มที่เจาะเข้าไปในเซลล์ไข่ได้เป็นตัวแรก   วินาทีแห่งชัยชนะ สำเร็จแล้ว   อ่านต่อ >> “สุดยอดภาพถ่ายพัฒนาการของทารกในครรภ์ตั้งแต่ปฏิสนธิจนกระทั่งก่อนคลอด” คลิกหน้า 2

ถอดรหัสท่วงท่าและภาษาของเบบี๋

เจ้าตัวน้อย ยังพูดไม่ได้ แต่สื่อสารกับเราได้นะ ถึงแม้เบบี๋จะยังสื่อสารด้วยภาษาแบบผู้ใหญ่ไม่รู้เรื่อง แต่หนูก็มีวิธีบอกให้พ่อกับแม่รู้ได้นะว่าหนูต้องการอะไร กำลังทำอะไร เรียนรู้อะไร หรือรู้สึกอย่างไรอยู่นะ…เพียงแต่ว่าต้องถอดรหัสกันนิดหน่อย แล้วจะเห็นว่า หนูสามารถสื่อสารและรู้เรื่องกว่าผู้ใหญ่หลายๆ คนซะอีก ฮึๆ ^_^  จะรออะไรรีบไปถอดรหัสภาษาท่าทางของหนูน้อยกันเลยค่ะ 1. รหัส : หนูอายุ 6 สัปดาห์ค่ะ ตกใจสะดุ้งโหยงทุกครั้งที่ได้ยินเสียงดัง เพราะเหตุใดรู้ไหมคะ?  ความหมาย : นั่นเป็นปฏิกิริยาสะท้อนกลับที่เรียกว่า Moro Reflex ซึ่งมีให้เห็น ในเด็กทารกแรกเกิดเกือบทุกคน และปฏิกิริยานี้จะคงอยู่กับลูกไปจนแกอายุได้ประมาณ 5 เดือนก็ จะหายไปเองค่ะ (แต่ถ้าหลังจากนั้นแล้ว ยังมีปฏิกิริยาสะท้อนกลับให้เห็นอีกอาจเป็นสัญญาณบ่งบอกว่าลูกมีปัญหาด้านระบบประสาทได้) ปฏิกิริยาสะท้อนกลับแบบ Moro Reflex นี้ก็คือ (นึกภาพเด็กอ่อนอายุราว 6 สัปดาห์ที่กำลังนอนเล่นเพลินๆ อยู่บนฟูกของแกตามไปด้วยนะคะ) เวลาที่จู่ๆ มีเสียงดัง หรือ มีใครมาจับตัวลูกแบบปุบปับฉับพลัน ลูกจะกางแขนออกและนิ้วเหยียดตรง ขาทั้งสองข้างก็จะกระตุกชี้ขึ้นกลางอากาศ และดวงตาเบิกกว้างอย่างตกใจ นี่คือปฏิกิริยาโดยกำเนิดของลูกที่บอกให้เรารู้ว่า แกกำลังพบเจอกับประสบการณ์ใหม่ที่อาจจะไม่น่าอภิรมย์เท่าไรนักค่ะ และคุณพ่อคุณแม่ก็ไม่ต้อง เป็นห่วงหรอกนะคะ เพราะอาการที่เกิดขึ้นเป็นสัญลักษณ์ว่าลูกน้อยของเรามีระประสาทที่แข็งแรงเป็นปกติดีนั่นเอง 2. รหัส : หนูอายุ 2 เดือน ชอบทำเสียงอูๆ […]

พัฒนาการทารกในครรภ์ 1-9 เดือน (มีคลิป)

เจ้าตัวเล็กของเรามีพัฒนาการตั้งแต่อยู่ในครรภ์อย่างไรบ้างกับการเจริญเติบโตทารกในครรภ์ตั้งแต่ 1 – 9 เดือนค่ะ มารับรู้พัฒนาการทารกในครรภ์ไปด้วยกันนะคะ ก่อนที่เจ้าตัวเล็กจะออกมาดูโลกด้วยร่างกายที่แข็งแรงสมบูรณ์ค่ะ

หมอเตือน!! ดูทีวีทำร้ายลูกร้ายแรง สร้างพฤติกรรมผิดปกติ

ผู้ใหญ่คิดว่าแค่เปิดทีวีให้ดู เท่านี้ก็นิ่งเงียบไม่งอแงแล้วแต่การให้ ลูกดูทีวี แบบนี้แหละที่อาจส่งผลร้ายแรง สร้างพฤติกรรมที่ผิดปกติให้กับลูกได้มากเลยทีเดียว

การเจริญเติบโตในครรภ์ สิ่งมหัศจรรย์ 1-9 เดือน

คุณแม่ที่กำลังตั้งครรภ์คงรู้สึกตื่นเต้นไม่น้อย เมื่อได้รู้ว่ากำลังเกิดสิ่งมีชีวิตเล็กๆ ในท้อง มาเรียนรู้ การเจริญเติบโตในครรภ์ ของลูกน้อย ตลอดเวลา 9 เดือน

keyboard_arrow_up