ตั้งครรภ์
แม่ท้องเครียด ส่งผลต่อลูกในท้องอย่างไร?
แม่ท้องเครียด เป็นปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถเลี่ยงได้ในคนท้อง นั่นเพราะอาจจะเป็นการตั้งครรภ์ครั้งแรก จึงเกิดความกังวลกับทุกเรื่อง หรือแม่ท้องบางคนก็มีปัญหาสุขภาพ ฯลฯ ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลกระทบต่อตัวแม่ท้องเองแล้ว ก็ยังส่งผลไปถึงลูกน้อยในครรภ์ด้วย ทีมงาน Amarin Baby & Kids จะพาไปดูว่าเมื่อ แม่ท้องเครียด ส่งผลต่อลูกในท้องอย่างไรกันบ้าง
รู้ก่อนท้อง! เป็นโรคไต มีลูกได้ไหม ?
หากเป็น โรคไต ไม่ควร เสี่ยง ตั้งครรภ์ หมายถึง โรคที่ทำให้การทำงานของไตเสื่อม หรือ ถึงขั้นไตวาย เราจะรู้ว่าเป็นโรคนี้ก็ต่อเมื่อ ตรวจร่างกาย ตรวจปัสสาวะ และตรวจเลือด จึงจะพบ ซึ่งโรคไตส่งผลร้ายอะไรต่อการตั้งครรภ์บ้าง มาดูกัน
ไขข้อสงสัย ท้องไม่รู้ตัว เป็นไปได้จริงหรือ?
ท้องไม่ท้อง เอ๊ะ! ท้องหรือเปล่านะ? ไม่น่าจะใช่แค่พุงใหญ่เฉยๆ อ่านข่าวคุณแม่ยังสาวที่ท้องไม่รู้ตัว ทำเอาหลายๆ คน เกิด คำถามสงสัยขึ้นมาว่าจะเป็นได้หรือที่จะท้องไม่รู้ตัว เรื่องนี้มีเงื่อนงำอย่างน่าสงสัย ฉะนั้นอย่ารอช้า ทีมงาน Amarin Baby & Kids หาคำตอบเพื่อให้ทุกครอบครัวได้คลายข้อสงสัยกันค่ะ
โรคตับในแม่ท้อง ภาวะอันตราย ทำให้ครรภ์เสี่ยงสูง
โรคตับ ภาวะอันตราย ทำให้ ครรภ์เสี่ยงสูง สำหรับอาการของโรคตับ ที่แสดงออกอย่างชัดเจน คือ อาการดีซ่าน มีลักษณะตาขาว มีสีเหลือง ที่เรียกกันว่า ตาเหลือง ส่วนผิวหนัง ฝ่ามือ และฝ่าเท้ามีสีเหลือง เรียกว่า ตัวเหลือง แม้ดีซ่านจะไม่ได้เกิดในคนไข้โรคตับทั้งหมด แต่หากมีดีซ่าน สิ่งที่ควรสงสัยต่อไปคือ เป็นโรคตับหรือไม่ ซึ่งโรคตับส่งผลกับการตั้งครรภ์อย่างไรบ้าง อันตรายขนาดไหน มาดูในรายละเอียดกัน
เป็นโรค SLE (โรคเอสแอลอี) มีลูกได้ไหม ?
หากเป็น โรค SLE ตั้งครรภ์ ได้รึเปล่า โรค SLE หรือ เอสแอลอี (Systemic Lupus Erythematosus ; SLE) เรียกอีกชื่อหนึ่งว่า โรคพุ่มพวง ถือเป็นโรคภูมิแพ้ตัวเองโรคหนึ่งที่มีปัญหากับการตั้งครรภ์ โรคนี้เกิดจากความผิดปกติในภูมิคุ้มกันของร่างกาย แทนที่จะต่อสู้กับเชื้อโรค หรือ สิ่งแปลกปลอมที่เข้ามา กลับทำลายเซลส์ของตัวเอง จนเกิดการอักเสบทั่วร่างกาย ไม่ว่าจะเป็น ผิวหนัง เยื่อบุช่องปาก เยื่อบุทางเดินอาหาร กระดูกและข้อ ไต หัวใจ ปอด ระบบโลหิต และระบบประสาท เป็นต้น
รกลอกตัวก่อนกำหนด ภาวะอันตราย ตายได้ทั้งแม่และลูก
“รกลอกตัวก่อนกำหนด” ภาวะอันตราย ตาย ได้ทั้ง แม่ และ ลูก ” รก ” ถือเป็นแหล่งให้อาหารแก่ทารก โดยรกเกาะติดกับผนังมดลูกด้านใน พอรับเลือดแม่แล้ว จะส่งผ่านเลือดทางสายสะดือไปยังทารกในครรภ์ ทั้งนี้รกปกติจะลอกและหลุดออกมาหลังทารกคลอดไม่เกิน 30 นาที – 1 ชั่วโมง
ตั้งครรภ์เกินกำหนด อย่าชะล่าใจ นั่นหมายถึง ครรภ์เสี่ยงสูง
“ ครรภ์เกินกำหนด “ อย่า ชะล่าใจ นั่นหมายถึง ครรภ์เสี่ยงสูง “ ครรภ์เกินกำหนด “ ใครว่าเป็นเรื่องน่าดีใจ โดยปกติแล้ว กำหนดคลอดของทุกคน หลังจากปฏิสนธิในครรภ์แม่ เมื่อนับจากประจำเดือนครั้งสุดท้าย คือ ตั้งครรภ์ 9 เดือนกับอีก 1 สัปดาห์ หรือ 40 สัปดาห์ หรือ 280 วัน หากใครตั้งครรภ์เกิน 9 เดือน กับ 3 สัปดาห์ หรือ 42 สัปดาห์ หรือ 294 วัน ถือว่าตั้งครรภ์เกินกำหนด
สารพัน ความเชื่อ คนท้อง ที่ควรฟังหูไว้หู
สารพัน ความเชื่อ เรื่อง “ ตั้งท้อง “ ที่ควร ฟังหู ไว้หู มีความเชื่อมากมายเกี่ยวกับการตั้งครรภ์ที่ตกทอดมาตั้งแต่สมัยปู่ย่าตายาย แม้ทุกวันนี้โลกจะพัฒนาไปไกล ความเจริญทางเทคโนโลยีไหลบ่าจนตั้งรับแทบไม่ทัน แต่ความเชื่อเหล่านี้ก็ยังคงอยู่ ซึ่งความเชื่อที่ว่านี้มีอะไรบ้าง ควรยึดถือปฏิบัติได้มากน้อยแค่ไหน มาคิดวิเคราะห์ไปพร้อมๆกันค่ะ
รกเกาะต่ำ ภาวะรุนแรงที่สุดของการตั้งครรภ์
ภาวะรกเกาะต่ำ ภาวะรุนแรงที่สุดของการตั้งครรภ์ พบได้ 1 คนในการตั้งครรภ์ประมาณ 200 คน หลายคนคงพอได้ยินภาวะนี้มาบ้าง มาทำความเข้าใจกันก่อนว่า ภาวะรกเกาะต่ำ คืออะไร แล้วเหตุใดถึงเรียกได้ว่าเป็นภาวะที่รุนแรงที่สุด
ตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์ จำเป็นแค่ไหน
ตรวจสุขภาพ ก่อนตั้งครรภ์ จำเป็นแค่ไหน สามีภรรยามือใหม่ที่ต้องการมีลูกน้อยมักพบเจอคำถามคาใจว่าควรตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์หรือไม่ ถ้าตรวจสุขภาพควรตรวจอะไรบ้าง โปรแกรมสุขภาพอะไรที่ควรเลือก และถ้าไม่ตรวจสุขภาพล่ะ ลูกน้อยจะมีผลกระทบอะไรไหม วันนี้เรามีคำตอบไขข้อสงสัยเกี่ยวกับการตรวจสุขภาพก่อนตั้งครรภ์จากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยามาให้คำแนะนำค่ะ
แม่ตั้งครรภ์ เป็นโรคหัวใจ อันตรายกว่าที่คิด
แม่ตั้งครรภ์ เป็นโรคหัวใจ อันตรายกว่าที่คิด เพราะการตั้งครรภ์มีผลต่อหัวใจ ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้น มีการเพิ่มของเม็ดเลือดแดง และน้ำเหลือง ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดมากขึ้น
โรคประจำตัว ที่ควรเฝ้าระวัง ขณะตั้งครรภ์
โรคประจำตัว ที่ควรเฝ้าระวัง ขณะตั้งครรภ์ หากเรามีสุขภาพที่ดี ช่วงเวลาตั้งครรภ์คงจะเป็นช่วงเวลาที่ดี และวิเศษสุด แต่ถ้าขณะตั้งครรภ์เรามีโรคประจำตัวขึ้นมาล่ะ
ทารกในครรภ์เติบโตช้า ภาวะน่าเป็นห่วง
ทารกในครรภ์เติบโตช้า ภาวะน่าเป็นห่วง การที่ทารกในครรภ์เจริญเติบโตช้า ถือว่าเป็นครรภ์ที่มีความเสี่ยงค่อนข้างสูง ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น เรามีคำอธิบายมาฝากกันค่ะ
เสี่ยงขั้นสุดเมื่อ เป็นโรคธาลัสซีเมีย ขณะตั้งครรภ์
เสี่ยงขั้นสุดเมื่อ เป็นโรคธาลัสซีเมีย ขณะตั้งครรภ์ โรคธาลัสซีเมีย คือ โรคโลหิตจางที่เกิดจาก โกลบิน ผิดปกติ คนที่เป็นโรคนี้จะมีเม็ดเลือดแดงผิดปกติ
โภชนาการก่อนตั้งครรภ์ ลดความเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด
โภชนาการดี ก่อนตั้งครรภ์ ลดความเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด You are what you eat !! ยังคงเป็นข้อความที่ถูกต้องและแท้จริงเสมอสำหรับสุขภาพของคนเราตลอดกาล
ตั้งครรภ์ 39-40 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 39-40 สัปดาห์ ถือเป็นสัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์แล้ว คุณแม่คงจะทั้งตื่นเต้นที่ได้เห็นหน้าลูกและกังวลใจเรื่องการคลอดไปพร้อมกัน
ตั้งครรภ์ 37-38 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 37-38 สัปดาห์ นี้ สำหรับคุณแม่อาจรู้สึกอึดอัด หายใจไม่สะดวกมากขึ้นเพราะท้องลด รวมทั้งคุณหมออาจจะนัดคุณแม่เพื่อตรวจถี่ขึ้นด้วย
ตั้งครรภ์ 35-36 สัปดาห์ และพัฒนาการทารกในครรภ์
พัฒนาการ การตั้งครรภ์ 35-36 สัปดาห์ ในช่วงนี้ถือเป็นช่วงเวลาที่คุณแม่ใกล้จะได้เห็นหน้าลูกน้อยกันแล้ว มาดูกันค่ะว่า คุณแม่ และลูกน้อยเป็นอย่างไรบ้าง