จิตวิทยาเด็ก
หมอเตือน! ทัศนคติของพ่อแม่ ในการเลี้ยงลูกที่ควรระวัง
ทัศนคติของพ่อแม่ แบบคุณเป็นแบบไหน? ตรรกะการเลี้ยงลูกแบบส่งต่อจากรุ่นสู่รุ่น ยังคงใช้ได้กับเด็กยุคปัจจุบันหรือไม่? เรามีคำตอบ หมอเตือน! ทัศนคติของพ่อแม่ ในการเลี้ยงลูกที่ควรระวัง “เคยถูกเลี้ยงมาแบบนี้ ก็เห็นโตมาได้ ไม่เห็นเป็นไร” “สมัยพ่อแม่ยังเด็ก ก็โดนตีแถมหนักกว่านี้ ยังทนมาได้ ไม่เห็นเป็นไร” ทัศนคติของพ่อแม่ ในการเลี้ยงลูก ที่แสดงออกมาผ่านคำพูด “เคยมาก่อน ไม่เห็นเป็นไร” เป็นตรรกะที่เกิดจาก ทัศนคติของพ่อแม่ ที่ได้รับการส่งต่อ ส่งผ่านจากรุ่นก่อนหน้า รุ่นพ่อแม่ของเราอีกทอด หรือจากประสบการณ์ที่คุณพ่อคุณแม่ได้เคยผ่านมาก่อนแล้วในชีวิต แต่เคยคิดบ้างไหมว่า ตรรกะ หรือทัศนคติในการเลี้ยงลูกเหล่านั้น มันใช้ได้จริงหรือ? มันยังคงคุณค่าจากอดีตมาจนถึงรุ่นลูกของเราในปัจจุบัน โดยไม่ต้องเปลี่ยนแปลง ปรับเปลี่ยนเลยอย่างงั้นหรือไม่? หรือแท้ที่จริงแล้วเราเพียงแค่ลืมความรู้สึกไม่เข้าใจในตรรกะการดูแลลูกของพ่อแม่เราต่างหาก ว่าในช่วงอายุนั้นเรารู้สึกงง โดดเดี่ยว คับข้องใจ และมีเหตุผลโต้แย้งต่อทัศนคติของพ่อแม่พวกเรามากมาย แต่ไม่สามารถทำได้หรือไม่? บทความการดูแลลูก สารเตือนใจพ่อแม่จากจิตแพทย์เด็ก!! ในเฟซบุ๊กของทาง ชมรมจิตแพทย์เด็กและวัยรุ่นแห่งประเทศไทย ได้แสดงถึงบทความเกี่ยวกับทัศนคติของพ่อแม่ในการเลี้ยงลูกแบบที่คุณหมอใช้คำว่า “ตรรกะอันตรายในการเลี้ยงลูก” ฟังดูอาจเป็นเหมือนคำที่รุนแรง มันจะมีผลน่ากลัวขนาดนั้นเลยเชียวหรือ กับการเลี้ยงลูกแบบที่เราก็เคยได้รับมาก่อน แต่ลองมาฟังความเห็นของคุณหมอไปป์ แฮปปี้คิดส์ จากในเพจกันดูว่ามีเหตุผลเพียงพอที่เราควรจะรีบตระหนัก และปรับเปลี่ยน การเลี้ยงลูก ของเรากันแล้วหรือยัง #ตอนเด็กเคยโดนเหมือนกันโตมาไม่เห็นเป็นไร […]
7 เคล็ดลับป้องกันเด็กเสพติดเทคโนโลยีมากไป สาเหตุสมาธิสั้นเทียม
สมาธิสั้นเทียม เกิดจากอุปกรณ์เทคโนโลยี อาทิ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ มีส่วนในชีวิตเด็กมากขึ้น จนทำให้เด็กบางรายมีพฤติกรรมก้าวร้าว ขาดสมาธิในการเรียน ขาดปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนในวัยเดียวกัน
[Blogger พญ.พิชญา ตันธนวิกรัย] “รังแก” ไม่ใช่เรื่องเล็กน้อย พ่อแม่ต้องฝึกลูกรับมือให้เป็น!
เด็กหลายคนไม่รู้วิธีรับมือเมื่อถูกเพื่อนรังแก เมื่อต้องไปโรงเรียนก็จะตึงเครียด หวาดกลัว ขาดความมั่นใจ ไม่กล้าเข้าสังคม บางคนที่หมอเคยพบก็ถึงขั้นไม่อยากไปโรงเรียน หรือถึงขนาดไม่อยากจะมีชีวิตอยู่
[Blogger พญ.พิชญา ตันธนวิกรัย] ลงโทษลูกด้วยการ “ตี” ได้หรือไม่
ตั้งแต่ทำงานเป็นจิตแพทย์เด็กมา หนึ่งในคำถามที่คุณพ่อคุณแม่ถามกันมากที่สุด คงเป็นคำถามที่ว่า.. “เราจะลงโทษเด็กด้วยการตีได้หรือไม่”
[Blogger พญ.พิชญา ตันธนวิกรัย] พ่อแม่อย่าเห็นลูก “ร้าย” เป็นเรื่องเล่นๆ จนกลายเป็น “ให้ท้าย” ลูก!
เราต้องระวังไม่ให้ “ความเอ็นดู” กลายเป็น “การให้ท้าย” พฤติกรรมร้าย ๆ ของเด็กไปโดยไม่ตั้งใจ เพราะพฤติกรรมเหล่านั้นอาจกลายเป็นปัญหาใหญ่ในอนาคตก็ได้
[Blogger พญ.พิชญา ตันธนวิกรัย] ปัญหาของลูกเรารุนแรงระดับไหน พ่อแม่จึงควรไปปรึกษาหมอ?
เพราะในชีวิตของคนเราทั้งผู้ใหญ่และเด็กก็ล้วนมีเรื่องให้ไม่สบายใจ ทีนี้เราจะรู้ได้อย่างไรว่าปัญหาที่เด็กในครอบครัวเราพบอยู่นั้น จำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา..
รู้ไหม? ลูกวัย 3-5 ขวบ ทุกลมหายใจคือการเล่น
วัยนี้เขาแข็งแรง มีพลังล้น (มาก) และเข้าใจอะไรมากขึ้นแล้ว แล้วเขาชอบเล่นแบบไหน พ่อแม่ควรเล่นหรือส่งเสริมเขาอย่างไร พบคำตอบได้ที่นี่!