การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ
การดูแลเด็กวัยเตาะแตะ หรือเด็กวัยก่อนเรียน พัฒนาการด้านต่างๆ ของเด็กวัย 1-3 ปี จินตนาการ การเรียนรู้เด็กจำเป็นต้องเริ่มต้นตั้งแต่วัยทารก วัยเตาะแตะจนถึงวัยอนุบาล
14 ข้อสำคัญ เพื่อรับมือกับลูกน้อยที่เป็น “เด็กออทิสติก”
เด็กออทิสติก ความผิดปกติอย่างหนึ่งที่พ่อแม่สามารถสังเกตได้จากลูก คือความไม่สมบูรณ์ทางสติปัญญา ที่อาจแสดงออกมาให้เห็นทางกายภาพ คือกลุ่มอาการของโรคออทิสติก ทีมงาน Amarin Baby & Kids มี 14 ข้อสำคัญ เพื่อรับมือกับลูกน้อยที่เป็น “เด็กออทิสติก” มาให้คุณพ่อคุณแม่ได้ทราบกันค่ะ
10 เคล็ดลับ แก้ปัญหา ลูกวัยเตาะแตะ หลับยาก
แก้ปัญหา ลูกวัยเตาะแตะ หลับยาก บางครั้ง แม้แต่เด็กสุขภาพดีก็ยังมีปัญหาการนอนได้ เพราะเด็กวัยเตาะแตะกำลังก้าวผ่านช่วงต่างๆ ของการเติบโตและพัฒนาการในหลายด้าน ทีมงาน Amarin Baby & Kids มีเคล็ดลับ แก้ปัญหา ลูกวัยเตาะแตะ หลับยาก มาฝากกันค่ะ
สุดยอด! วิธีสยบอาการไอของลูกน้อยให้อยู่หมัด
ไม่ว่าอาการแบบไหน…เสียงไอของลูกน้อยก็เป็นเสียงที่ทรมานใจ สำหรับคุณพ่อคุณแม่เช่นกันและมาพร้อมกับความวิตกกังวลว่าอาการไอของลูกคือสัญญาณเตือนปัญหาอะไรหรือเปล่า!
เลือกรองเท้าให้ลูก อย่างไร? ให้เหมาะกับวัยหัดเดิน
เลือกรองเท้าให้ลูก อย่างไรให้เหมาะกับวัยหัดเดิน ซึ่งส่วนใหญ่เด็กจะเริ่มหัดเดินช่วงอายุประมาณ 10-12 เดือน ก็มีแม่หลายคนกังวลกับการเลือกซื้อรองเท้าคู่แรกให้ลูก
7 STEP…หนูน้อยฟันสวยด้วยมือคุณแม่ (มีคลิป)
การ ดูแลฟันน้ำนม เป็นสิ่งสำคัญที่จะช่วยส่งเสริมพัฒนาการ เช่น การพูด การออกเสียงให้ชัดเจน หรือการทานอาหาร คุณแม่จึงจำเป็นต้องใส่ใจฟันลูกรักตั้งแต่ซี่แรก
งานยุ่ง จนไม่มีเวลาเล่นกับลูก จะพูดกับลูกอย่างไรไม่ให้ลูกเสียใจ
หากคุณพ่อคุณแม่ต่างวุ่นวายกับการงานด้วยความจำเป็น ไม่มีเวลาเล่นกับลูก มากเท่าที่ใจอยากทำ บางครั้งก็ตอบลูกด้วยความเหนื่อย ความรำคาญ จนรู้สึกผิด จะแก้ปัญหานี้อย่างไรดี?
แก้ปัญหาโลกแตก ลูกกินข้าวยาก ลูกกินข้าวน้อย กันดีกว่า!
“ลูกไม่ยอมกินข้าว” “ลูกกินข้าวน้อย” ปัญหาโลกแตก เมื่อหวยมาออกที่ลูกเรา! ทำไมลูกถึงไม่ค่อยยอมกินข้าว แถมดูผอมลงๆ วันๆ เอาแต่เล่น จะทำอย่างไรดี…
4 วิธีดับโกรธ เตาะแตะ & พ่อแม่ ที่เกิดจากความดื้อเป็นเหตุ!
ความดื้อความซนถือเป็นความคลาสสิคของเด็กวัยเตาะแตะทุกคน เชื่อสิว่าแม้แต่ตัวคุณเอง ตอนเด็กๆ ก็ต้องเคยสร้างวีรกรรมให้คุณพ่อคุณแม่ปวดหัวไว้เหมือนกัน ต้องหากลเม็ดเด็ดพราย ระงับอารมณ์โกรธ กันทุกทีไป เรื่องซนเรื่องดื้อของเด็กถือเป็นเรื่องธรรมดาก็จริง แต่ถ้าผู้ปกครองไม่เข้าใจ และลงไม้ลงมือทำร้ายลูก ย่อมไม่เป็นผลดีกับเขาแน่นอน คุณแม่ท่านหนึ่งตั้งคำถามอย่างน่าสนใจว่า “เด็กที่โดนดุและโดนตวาดบ่อยๆ เขาจะเป็นอย่างไรต่อไป” เธอเล่าว่า “ทั้งๆ ที่รู้อยู่ว่าเด็กซน หรือดื้อเป็นเรื่องปกติ แต่ทำไมพอถึงเวลาลูกดื้อ งอแงขึ้นมา ฉันกลับควบคุมตัวเองไม่ได้สักที จะตวาดเขา ใช้วิธีนับหนึ่งถึงสิบก็ไม่ได้ผลสักที ตบะแตกก่อนทุกครั้ง พออารมณ์ของฉันเย็นลงแล้ว ค่อยมารู้สึกผิดว่าไม่น่าทำอย่างนั้นเลย หรือบางทีกลายเป็นแม่ที่ร้องไห้ต่อหน้าลูก เพราะสงสารเขา ขณะเดียวกันก็โกรธตัวเองที่ควบคุมตัวเองไม่ได้ พอลูกหยุดร้องไห้ เขาก็เล่น หรือทำกิจกรรมได้เหมือนเดิม อย่างนี้ก็ยิ่งทำให้แม่รู้สึกผิดมาก” (อ่านเพิ่มเติม เมื่อแม่ตีลูกเล็กด้วยอารมณ์จนกว่าลูกจะขอโทษ) อ่านต่อ “4 เทคนิค ระงับความโกรธ สำหรับทั้งครอบครัว” คลิกหน้า 2
ภัยจากทีวี อย่าปล่อยให้ลูกน้อยเป็นเด็กสมาธิสั้น และออทิสติก
เด็กกับผู้ใหญ่ มีความแตกต่างเรื่องบุคลิกภาพ ผู้ใหญ่มักจะดูนิ่งกว่าเด็ก มีความคิด และนิสัยที่ชัดเจน สามารถแยกแยะความถูกผิดได้ในระดับหนึ่ง ส่วนแด็กจะมีการเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ ความคิดอยู่ทุกวัน การที่ให้ลูกดูทีวีนานๆ อาจนำ ภัยจากทีวี มาฆ่าสมองลูกน้อยได้โดยไม่รู้ตัว นพ. กิจจา ฤดีขจร กล่าวว่า อาการของโรคสมาธิสั้น และออทิสติก ในเด็กเกิดจากปัจจัยของการพัฒนาสมอง และบุคลิกภาพของเด็กเอง ซึ่งขึ้นอยู่กับ 2 อย่าง คือ ปัจจัยภายใน มีผลมาจากพันธุกรรม และปัจจัยภายนอก มาจากการเลี้ยงดู สภาพแวดล้อม ครอบครัว สังคม เพื่อน และโรงเรียน ในประเทศไทยมีเด็กที่เป็นโรคสมาธิสั้น และออทิสติกอยู่ประมาณ 5-10% ซึ่งมีสาเหตุมาจากกรรมพันธุ์ การเลี้ยงดู 30-40% การดูโทรทัศน์ ก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เด็กเป็นโรคสมาธิสั้น แสดงผลเร็ว ชัดเจน และรุนแรงมากขึ้น โทรทัศน์เป็นตัวกระตุ้นให้แสดงอาการของโรคสมาธิสั้น เพียงงดไม่ให้ลูกน้อยดูทีวี อาการที่อยู่ไม่นิ่ง ไม่มีสมาธิ หุนหันพลันแล่น ก็จะดีขึ้นภายใน 2-3 เดือน และหายไปในที่สุด โดยไม่ต้องใช้การรักษาอย่างอื่นร่วมด้วย ส่วนโรคออทิสติก […]
“ขู่ลูก” ให้กลัว เด็กได้อะไร พ่อแม่ได้อะไร!!
“เดี๋ยวตุ๊กแกจะมากินตับ”“เดี๋ยวผีมาเอาไปนะ”“เดี๋ยวให้หมอจับฉีดยาเลย”เป็นหนึ่งในหลายประโยคคลาสสิค ที่หมอเชื่อว่าคุณพ่อคุณเคยได้ยินหรือเคยใช้มาบ้าง บางคนก็อาจมีประสบการณ์โดนขู่มาเหมือนกัน
พ่อแม่คือคนสำคัญที่ส่งเสริมการเล่นให้ลูก
การเล่นคือเครื่องมือการเรียนรู้ชิ้นแรกของมนุษย์ เด็กได้เล่นหมายถึงเขาได้สำรวจโลก เมื่อโตขึ้นโลกกว้างมากขึ้น เด็กได้เรียนรู้ไปเรื่อยๆ ไม่มีที่สิ้นสุด
เลี้ยงลูกให้เป็นคนดี อารมณ์ดี และมีความสุข เพียง 4 ข้อ
เด็กๆ ทุกคนต้องการความรักและการเลี้ยงดูจากพ่อแม่ จนกว่าจะเติบโตและสามารถพึ่งพาตัวเองได้ ถ้าคุณพ่อ คุณแม่ไม่ดูแลลูก ก็คงเป็นเรื่องยากที่ลูกจะอยู่รอดปลอดภัย และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีได้ พ่อแม่ไม่ควรทอดทิ้งลูก การ เลี้ยงลูกให้เป็นคนดี และอารมณ์ดี ก็เป็นสิ่งสำคัญ
รู้หรือไม่? แท้จริงแล้ว เรามีเวลาอยู่กับลูก ได้แค่ 10 ปีแรกเท่านั้น!
รู้หรือไม่? แท้จริงแล้ว เรามีเวลาอยู่กับลูก ได้แค่ 10 ปีแรกเท่านั้น!! นั่นหมายความว่า “การให้เวลากับลูก” แค่ 10 ปีแรก จะส่งผลไปตลอดชีวิต
[สร้างวินัยเชิงบวก] 3 เทคนิคเชิงบวก ฝึกลูกเล็กควบคุมอารมณ์ และความรู้สึกให้ได้ผล!
การ “ควบคุมอารมณ์” เป็นทักษะที่ต้องฝึกตั้งแต่ลูกยังเล็ก หากปล่อยไว้ลูกจะกลายเป็นคนที่ทำอะไร “ตามอารมณ์” ก้าวร้าว โวยวาย หรือเก็บกดอย่างถาวรได้
7 Step เตรียมเจ้าตัวน้อย ก่อนเข้าอนุบาล
แนะนำ 7 ขั้นตอนสำคัญในการสอนและฝึกฝนลูกรัก เพื่อเตรียมร่างกายและจิตใจให้พร้อมก่อนไปโรงเรียนได้อย่างประสบความสำเร็จมาฝากกันค่ะ
7 เรื่องต้องรู้เกี่ยวกับดวงตาของเด็กวัยเรียน ที่เกิดจากหน้าจอ
เรื่องของ ‘แท็บเล็ต’ เป็นเรื่องที่เราไม่ควรให้เด็กอยู่กับมันมากอยู่แล้ว อย่างที่เรารู้ว่าเด็กต่ำกว่า 2 ขวบ ไม่ควรใช้แท็บเล็ต เพราะจะมีผลทำให้เด็กสื่อสารได้ช้า มีอาการคล้ายกับออทิสติก
สัญญาณเตือนสมาธิสั้น 7 ข้อที่พ่อแม่ต้องสังเกต
อาการของเด็กสมาธิสั้นมีตั้งแต่ไม่สามารถจดจ่ออยู่กับสิ่งหนึ่งได้นานๆ ขาดแรงจูงใจ ไปจนถึงมีปัญหาทางจิต กระสับกระส่าย เหม่อลอย หรือมีความเครียด วิตกกังวล แล้วเราจะรู้ได้อย่างไรว่าลูกของเราเป็นเด็กสมาธิสั้นหรือไม่? Amarin Baby & Kids มีวิธีสังเกต สัญญาณเตือนสมาธิสั้น
“ทีวี” แหล่งรวมความรุนแรง..เลี้ยงลูกอย่างไรไม่ให้ “ติดทีวี”
ทำไม “ทีวี” ถึงเป็นสิ่งที่ไม่ควรให้เด็กๆ ดู แม้จะมีผู้ใหญ่ดูอยู่ด้วย! เรามีคำแนะนำจากผู้เชี่ยวชาญ แก้อาการลูกติดทีวีได้แน่ ถ้าไม่อยากให้ลูกติดทีวี ต้องอ่าน!