ระวัง! "ลูกกระดูกหัก" ไม่รู้ตัว สังเกตสัญญาณ ขาโก่ง-บวม-ไม่ขยับ
ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม

ระวัง! “ลูกกระดูกหัก” ไม่รู้ตัว สังเกตสัญญาณ ขาโก่ง-บวม-ไม่ขยับ

Alternative Textaccount_circle
event
ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม
ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม

การดูแลเมื่อเด็กกระดูกหัก

เมื่อเด็กได้รับบาดเจ็บแล้วสงสัยว่ามีกระดูกหัก เช่น มีอาการบวมมาก ไม่ยอมขยับส่วนที่ได้รับบาดเจ็บ หรือมีการผิดรูปโก่งงอของอวัยวะ สิ่งที่ควรทำคือ

  • ใช้วัสดุแข็งเช่น แผ่นไม้ กระดาษหนังสือพิมพ์พับซ้อนหลายๆชั้น หรือกระดาษแข็งๆ ดามอวัยวะส่วนไว้โดยอาจใช้ผ้าหรือผ้ายืดพันเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการบาดเจ็บเพิ่ม
  • ใช้ความเย็นประคบเพื่อลดการบวม
  • อย่าใช้ยาใด ๆ ถูนวดบริเวณที่บาดเจ็บ

ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม

  • อย่าพยายามดัดหรือดึงกระดูกที่ผิดรูปด้วยตัวเอง
  • ให้งดน้ำและอาหารไว้ก่อน เพราะอาจมีความจำเป็นที่ต้องดมยาสลบเพื่อการรักษาจะได้สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว เนื่องจากการดมยาสลบในขณะที่มีอาหารอยู่ในกระเพาะอาจทำให้สำลักและเป็นอันตรายได้
  • รีบพาไปพบแพทย์เพื่อทำการรักษาอย่างถูกวิธี

 

เรื่อง: นพ. ปวริศร สุขวนิช ศัลยแพทย์กระดูกและข้อในเด็ก โรงพยาบาลเวชธานี ลาดพร้าว 111

เรียบเรียง: กองบรรณาธิการเว็บไซต์ Amarin Baby & Kids

ภาพ: Shutterstock

อ่านเพิ่มเติม

เลี้ยงลูกให้สูงตามเกณฑ์

ลูกกระดูกเปราะแต่กำเนิด เพราะแม่ท้องกินอาหารที่มีแต่ผงชูรส จริงหรือ?

banner300x250-1

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up