ระวัง! "ลูกกระดูกหัก" ไม่รู้ตัว สังเกตสัญญาณ ขาโก่ง-บวม-ไม่ขยับ
ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม

ระวัง! “ลูกกระดูกหัก” ไม่รู้ตัว สังเกตสัญญาณ ขาโก่ง-บวม-ไม่ขยับ

Alternative Textaccount_circle
event
ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม
ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม

“ลูกกระดูกหัก” หรือไม่? คุณพ่อคุณแม่ช่วยสังเกตอาการของลูกได้ จะได้รักษาได้ทันท่วงที

โรคกระดูกหักในเด็กนับเป็นภาวะที่พบได้บ่อย เนื่องจากวัยเด็กเป็นวัยที่กำลังซุกซนและมีกิจกรรมมากทำให้มีโอกาสเกิดการบาดเจ็บได้ง่าย แม้เด็กมีโอกาสกระดูกหักได้เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามภาวะกระดูกหักในเด็กมีความแตกต่างจากกระดูกหักในผู้ใหญ่ค่อนข้างมากด้วยเหตุผลหลายประการด้วยกัน เช่น

ลูกกระดูกหัก กระดูกหักในเด็ก ขาบวม

1. คุณสมบัติของกระดูกเด็ก

กระดูกเด็กมีความแตกต่างจากผู้ใหญ่ ดังอาจเคยได้ยินว่า “เด็กกระดูกยังอ่อน” คำกล่าวนี้นับว่าถูกต้อง กระดูกเด็กหักค่อนข้างง่ายและมีลักษณะการหักบางอย่างที่เป็นลักษณะเฉพาะที่ไม่พบในผู้ใหญ่เช่น การบิดงอผิดรูปของกระดูก (plastic deformity) การย่นของกระดูก หรือการหักลักษณะคล้ายกิ่งไม้สด (green stick) ที่มีการหักที่ด้านหนึ่งและอีกด้านที่งอผิดรูปแต่ไม่แตกออก

อ่านต่อ “เด็กกระดูกหัก ต่างจากผู้ใหญ่อย่างไร?” คลิกหน้า 2

banner300x250-1

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up