AMARIN Baby And Kids – เพื่อลูกฉลาดและมีความสุข

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? 8 รพ.รัฐ-เอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? เปรียบเทียบราคาและโปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี 2562 ของโรงพยาบาลรัฐ และโรงพยาบาลเอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000 บาท ได้ที่นี่เลยค่ะ

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? 8 รพ.รัฐ-เอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000

8 โรงพยาบาลรัฐและเอกชน ที่ค่าตรวจสุขภาพไม่เกิน 3,000 บาท

ตรวจสุขภาพ โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์

1. โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย

โปรแกรม 1 สำหรับผู้ที่อายุ 35 ปีขึ้นไป ราคา 1,180 บาท

โปรแกรม 2 สำหรับผู้ที่อายุน้อยกว่า 35 ปี ราคา 410 บาท

2. โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี

ข้อมูลจาก www.nopparat.go.th

3. โรงพยาบาลกลาง

ข้อมูลจาก www.klanghospital.go.th

 

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

Amarin Baby & Kids

อ่านต่อ ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? 8 รพ.รัฐ-เอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? 8 รพ.รัฐ-เอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? ที่นี่มีคำตอบ

4. โรงพยาบาลจุฬาภรณ์

สำหรับผู้ที่อายุ 40 ปีขึ้นไป ราคา 1,400 บาท

5. โรงพยาบาลเกษมราษฎร์

ข้อมูลจาก www.kasemrad.co.th

6. โรงพยาบาลยันฮี ราคา 2,300 บาท

ข้อมูลจาก th.yanhee.net

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

Amarin Baby & Kids

อ่านต่อ ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? 8 รพ.รัฐ-เอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? 8 รพ.รัฐ-เอกชน ที่ราคาไม่เกิน 3,000

ตรวจสุขภาพ ที่ไหนดี? ที่นี่มีคำตอบ

7. โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์

ข้อมูลจาก www.siphhospital.com

8. โรงพยาบาลเปาโล

โปรแกรมตรวจสุขภาพประจำปี (อายุน้อยกว่า 30 ปี) Value For Life Silver ราคา 2,500 บาท

การเตรียมตัวก่อนเข้ารับการตรวจสุขภาพ

สำหรับผู้ที่ต้องการตรวจสุขภาพควรเตรียมตัวให้พร้อมก่อนวันตรวจสุขภาพด้วยการพักผ่อนให้เพียงพออย่างน้อย 8 ชั่วโมง ไม่ควรอดนอนเพราะจะทำให้ผลการตรวจผิดปกติ โดยเฉพาะเรื่องความดันโลหิต การเต้นของหัวใจ และอุณหภูมิของร่างกาย และควรงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สิ่งสำคัญคือ ควรทำตัวให้เหมือนปกติก่อนเข้ารับการตรวจ ไม่ควรควบคุมตัวเองเป็นพิเศษ เพื่อจะได้ผลการตรวจที่แม่นยำที่สุด และให้แพทย์วินิจฉัยได้ถูกต้องที่สุด นอกจากนี้ยังมีข้อควรปฏิบัติอื่นๆสำหรับการตรวจสุขภาพ ดังนี้

  1. การตรวจเลือด เฉพาะผู้ที่ต้องการตรวจหาน้ำตาลในเลือดและไขมันในเลือด งดอาหารและเครื่องดื่ม (ยกเว้นน้ำเปล่า) ตั้งแต่เวลา 20.00 น. ของคืนก่อนวันตรวจ
  2. การตรวจปัสสาวะ เก็บปัสสาวะตอนเช้า ก่อนเข้าตรวจสุขภาพ โดยล้างมือ-ทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ ปัสสาวะทิ้งไปก่อนเล็กน้อยแล้วเก็บปัสสาวะช่วงกลางก่อนที่จะปัสสาวะสุด เก็บปัสสาวะใส่ภาชนะ ประมาณ ½ กล่อง (ปิดฝาให้สนิท)
    **สุภาพสตรีที่อยู่ในช่วงมีประจำเดือนควรให้ประจำเดือนหมดไปก่อนอย่างน้อย 3 วัน หรือถ้าต้องการตรวจกรุณาแจ้งให้เจ้าหน้าที่ทราบ
  3. การตรวจอุจจาระ เก็บอุจจาระตอนเช้าวันตรวจใส่ภาชนะ ประมาณ ¼ กล่อง (ประมาณหัวแม่มือ)
  4. การเอกซเรย์ปอด ** สุภาพสตรี : ให้เปลี่ยนสวมเสื้อที่จัดเตรียมไว้ให้ โดยถอดสร้อยคอ-เสื้อชั้นใน (ยกทรง) ออก เพื่อป้องกันมิให้ตะขอ หรือโครงเสื้อในบังปอด

การตรวจสุขภาพ เป็นขั้นตอนสำคัญด้านสาธารณสุข ที่คนไทยทุกคนควรได้รับการตรวจอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ดังนั้น คุณพ่อคุณแม่อย่าลืมหาเวลาไปตรวจกันนะคะ

อ่านต่อบทความดี ๆ คลิก

พ่อแม่ผู้ประกันตนเฮได้! รวม 14 สิทธิ์ ตรวจสุขภาพฟรี ประกันสังคม

ตรวจโรคทางพันธุกรรม ก่อนตั้งครรภ์ จำเป็นไหม?

รวมรายชื่อ โรงพยาบาลที่มีจิตแพทย์เด็กคอยแนะนำ! ทั้งในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัด

16 หมอเด็ก ที่คุณพ่อคุณแม่ต้องรู้จักไว้

สิทธิประกันสังคม กรณีคลอดบุตร ทั้งหมดที่แม่ท้องควรรู้!

 

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

Amarin Baby & Kids